1 / 30

การทำความสะอาด และการตรวจวัด

การทำความสะอาด และการตรวจวัด. Pseudomonas-Infection. น . ส.มารีอานา บริดี ดา คอสตา อายุ 20 ปี นางงาม บราซิลติดเชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่ในโรงพยาบาลจน เสียชีวิต เบื้องต้นทราบว่า เชื้อดังกล่าวชื่อว่า ซูโดโมนาส

quinta
Télécharger la présentation

การทำความสะอาด และการตรวจวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำความสะอาด และการตรวจวัด

  2. Pseudomonas-Infection น.ส.มารีอานา บริดี ดา คอสตา อายุ 20 ปี นางงาม บราซิลติดเชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่ในโรงพยาบาลจน เสียชีวิต เบื้องต้นทราบว่า เชื้อดังกล่าวชื่อว่า ซูโดโมนาส เออรูจิโนซ่า (Pseudomonas aeruginosa) นั้นเป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดที่มีความรุนแรง และสามารถแพร่เชื้อได้รวดเร็วมาก โดยทั่วไปหาก ผู้ป่วยติดเชื้อที่บริเวณแผลภายนอกร่างกาย หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง ก็จะรักษาโดยการให้ยาฆ่าเชื้อ และตัดชิ้นเนื้อส่วนนั้นๆ ทิ้ง เพื่อสกัดการลุกลามของเชื้อ แต่กรณีนางงามบราซิล มีการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้ทวีความอันตราย และเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมาก เพราะเชื้อจะวิ่งไปตามเลือด และเข้าไปสู่อวัยวะส่วนต่างๆ โดยเชื้อที่พบในโรงพยาบาลสามารถพบได้ทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา

  3. “การติดเชื้อในกระแสโลหิต เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย สูงเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็ง และอุบัติเหตุ” “หากเป็นการติดเชื้อในกระแสโลหิตธรรมดา อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ประมาณ 30-50% แต่หากมีภาวะช๊อกร่วมด้วย อัตราการเสียชีวิตจะสูงขึ้นเป็นประมาณ 88 เปอร์เซนต์” แหล่งข้อมูล นพ.กิตติศักดิ์ เชื้อสกุลวนิช, “การเสียชีวิตจากภาวะการติดเชื้อในกระแสโลหิตในโรงพยาบาลสุรินทร์”, ผลงานวิชาการยอดเยี่ยมจากการประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2550

  4. Why Cleaning ?

  5. ความสำคัญของการล้างทำความสะอาดความสำคัญของการล้างทำความสะอาด 6 % (2/35) 6 % (2/35) 70 % (7/10) 90 % (9/10) 93 % (14/15) 100 % (38/38) Table Chafour X et al. 1999; J Vasc Surg 30 (2): 277-82

  6. เลือด เป็นตัวแปรที่ใช้ชี้วัดความสะอาดของพื้นผิวเครื่องมือแพทย์ ตามมาตรฐาน ISO 15883 ซึ่งใช้ควบคุมดูแลในการผลิตเครื่องล้างอัตโนมัติ สำหรับทำความสะอาด และทำลายเชื้ออุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์

  7. pH Temp. การทำความสะอาดด้วยด่าง Alkaline Cleaning

  8. นาที time in minutes 0 5 1015 สารล้างที่เป็นด่าง alkaline detergent 0,5% - 70°C สารล้างระบบเอนไซม์ enzymatic detergent 1% - 45°C สารล้างที่เป็นกลาง neutral detergent 1% - 45°C ประสิทธิภาพการทำความสะอาด Chemical cleaning efficacy

  9. คุณภาพของสารทำความสะอาดคุณภาพของสารทำความสะอาด การทดสอบการขจัดคราบเลือดสำหรับสารล้างที่ใช้โดยวิธีการทำความสะอาดด้วยมือ แช่ TOSI ไว้ในสารละลายเข้มข้น 1% ณ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง Pacer Release Plus (Cambell) Deconex 36 BS Alkaline cleaner (without enzyme) Puradet Manuzyme (GINOVA) Aniozyme DD-1 (Anios) Endozime AW (Ruhof) Bodedex Forte (Bode) (No enzyme) Deconex 3-Zyme 3E Zyme (Medisafe) Repidzyme (3M Australia)

  10. องค์ประกอบสำคัญของสารทำความสะอาด และประโยชน์การใช้งาน สารด่าง ทำหน้าที่ขจัดคราบชีวภาพ เปรียบเสมือนตัวทำละลายคราบอินทรีย์ให้หลุดออกพร้อมน้ำ จึงนิยมใช้ทำความสะอาดคราบเลือด เนื้อเยื่อ รวมทั้งสารคัดหลั่งต่างๆ ที่มีปริมาณการปนเปื้อนสูง แต่ข้อด้อยของด่างคือความกัดกร่อนพื้นผิววัสดุที่สูงด้วย โดยเฉพาะกลุ่มวัสดุที่เป็นยาง พลาสติก และสารสังเคราะห์ต่างๆ ที่จะทำให้กรอบแตกง่าย สารลดแรงตึงผิว ทำหน้าที่ลดแรงตึงผิวของน้ำ ทำให้คราบปนเปื้อนทำละลายในน้ำได้ดีขึ้น รวมทั้งลดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างคราบปนเปื้อนกับพื้นผิวเครื่องมือ ทำให้คราบสกปรกหลุดออกง่ายขึ้น แต่มีจุดด้อยตรงที่สารลดแรงตึงผิวส่วนใหญ่มีฟอง ทำให้ยากแก่การมองเห็น ส่วนสารลดแรงตึงผิวที่ไม่มีฟองราคาค่อนข้างสูง เอนไซม์ ทำหน้าที่ย่อยสลายคราบอินทรีย์ เพื่อให้สามารถทำความสะอาดได้ง่ายขึ้น มีสภาพเป็นกลาง และทำปฏิกริยากับสารอินทรีย์เท่านั้น จึงไม่กัดกร่อนพื้นผิว แต่มีจุดด้อยที่ทำปฏิกริยากับสารลดแรงตึงผิวด้วย ทำให้แม้คราบอินทรีย์จะผ่านการย่อยสลายแล้ว แต่ก็ยังคงมีโอกาสที่จะเกาะติดอยู่บนพื้นผิวได้ และเมื่อนำเอนไซม์มาทำความสะอาดวัสดุพื้นผิวที่เป็นโลหะ หากไม่มีส่วนผสมของสารลดแรงตึงผิวแล้ว จะทำให้เกิดคราบอนินทรีย์ เช่น สนิม ตะกรัน คราบด่าง คราบขาว เป็นต้น แต่สารลดแรงตึงผิวที่เข้ากับเอนไซม์ได้ก็จะมีราคาสูงด้วยเช่นกัน

  11. องค์ประกอบสำคัญของสารทำความสะอาด และประโยชน์การใช้งาน (ต่อ) สารลดความกระด้างของน้ำ ใช้สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิว หรือแม้แต่สารออกฤทธิ์อื่นๆ ในสารทำความสะอาด เนื่องจากคุณภาพน้ำมีแร่ธาตุต่างๆ ทำละลายอยู่ แร่ธาตุเหล่านี้จะทำให้ประสิทธิภาพของสารทำความสะอาดด้อยลง จึงมีการใช้สารลดความกระด้างของน้ำ (complexing agent, chelating agent) ในการแก้ปัญหาดังกล่าว แต่สารลดความกระด้างกลุ่ม nitrilatriacetic acid (NTA) ซึ่งนิยมใช้กันในอุตสาหกรรมเคมีเพราะมีราคาย่อมเยานั้น ถูกสงสัยว่าจะเป็นสารก่อมะเร็งในสิ่งมีชีวิต จึงต้องระวังให้มากว่า เคมีภัณฑ์ต่างๆ ที่เราใช้กันอยู่นั้น มีส่วนผสมของสารอันตรายหรือไม่ สารกรด มีประสิทธิภาพการทำความสะอาดดีเยี่ยม แต่ก็มีการกัดกร่อนพื้นผิวที่รุนแรงเช่นเดียวกัน การใช้สารทำความสะอาดที่มีสภาพเป็นกรด จึงใช้สำหรับขจัดคราบฝังแน่นที่สะสมนาน และยากต่อการทำความสะอาดเท่านั้น รวมทั้งใช้ทำความสะอาดเครื่องมือที่ทำจากสแตนเลสเท่านั้น เช่นกัน ภาชนะบรรจุควรใช้เป็นพลาสติกเนื่องจากกรดไม่กัดกร่อนพลาสติก แต่ถ้าใช้ในงานที่ต้องมีอุณหภูมิสูงมากๆ ก็อาจใช้ภาชนะบรรจุที่เป็นสแตนเลสได้เช่นกัน แต่ไม่ควรแช่ไว้นานเกิน 4 ชั่วโมง

  12. ตารางเปรียบเทียบประสิทธิภาพ และความเหมาะสม ของสารทำความสะอาดประเภทต่างๆ

  13. ก่อน หลัง

  14. ตัวชี้วัดทางเคมีสำหรับเครื่อง ultrasonic SonoCheck ใช้สำหรับการตรวจเช็คประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องultrasonic น้ำยาจะเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีเหลืองเมื่อเครื่องultrasonic ยังคงประสิทธิภาพของการใช้งานได้ดีอยู่ 1 ความสะดวกในการใช้งาน 2 ความง่ายในการอ่านผล 3 ปราศจากสารตกค้าง 4 ทราบผลได้อย่างรวดเร็ว 5 ทดสอบร่วมกับเครื่องมือได้

  15. Back

  16. การยึดติดของโปรตีนบนพื้นผิวสแตนเลสจากการใช้น้ำยาที่ มีส่วนผสมของ aldehyde

  17. เครื่องล้างระบบ Ultrasonic

  18. การตรวจสอบทางสายตา • เป็นวิธีการตรวจสอบขั้นพื้นฐาน • อาจมีการใช้แว่นขยายช่วยในการตรวจสอบด้วย

  19. ตัวชี้วัดคราบเลือด -ตรวจสอบเฉพาะคราบโปรตีนของเลือดเท่านั้นโดยอาศัยปฎิกิริยา peroxidase reaction -สามารถตรวจผลได้เพียงแค่ 0.1 ไมโครกรัมของเลือด-ใช้เวลาเพียงแค่ไม่ถึงนาทีก็สามารถตรวจผลได้

  20. PEREG HemoCheck ภาพแสดงคราบเลือดที่ 100μg, 10μg, 1μg, 0.1μg และไม่มีคราบเลือด ตามลำดับ

  21. คราบโปรตีนที่ 10-0 μg ตามลำดับ PEREG PyromolCheck

  22. Thank you for your attention

More Related