1 / 20

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค จังหวัดเลย

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค จังหวัดเลย. วิสัยทัศน์ พัฒนาระบบสุขภาพแบบองค์รวมอย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของชุมชน และสังคม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน. พันธกิจ. 1.พัฒนาการบริหาร การบริการและวิชาการด้านสุขภาพ 2.สร้างระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

rane
Télécharger la présentation

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค จังหวัดเลย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค จังหวัดเลย

  2. วิสัยทัศน์ พัฒนาระบบสุขภาพแบบองค์รวมอย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน

  3. พันธกิจ 1.พัฒนาการบริหาร การบริการและวิชาการด้านสุขภาพ 2.สร้างระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน 3.เสริมสร้างความร่วมมือของชุมชนและสังคม

  4. การวางแผนยุทธศาสตร์ มุ่งตอบสนองเป้าหมายบริการและยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง เป้าหมายระดับจังหวัด + ยุทธศาสตร์จังหวัด(ผลผลิต) (กิจกรรมหลัก)

  5. ข้อสังเกต/ปัญหาที่พบ - การบรรลุเป้าหมายของงาน - งบประมาณ - การบูรณาการงาน - ขาดเป้าหมายร่วมในการพัฒนาองค์กร - ปัญหาการต่อยอดในการพัฒนางาน เช่น Competency, PMQA ฯลฯ

  6. ร่างวิสัยทัศน์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย “เป็นผู้นำในการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประชาชนสุขภาพดี บุคลากรมีความสุข”

  7. พันธกิจสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลยพันธกิจสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบองค์รวมให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในระบบสุขภาพของทุกภาคส่วน และ สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง3. จัดระบบเครือข่ายสุขภาพให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย4. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้หลัก ธรรมาภิบาล

  8. พันธกิจสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย (ต่อ) 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล และพัฒนา บุคลากรตามขีดสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน6. ส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้7. ส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพของ ประชาชน8. สร้างสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ดี เอื้อต่อการมีสุขภาพดีและ บุคลากรมีความสุข

  9. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดเลยแผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดเลย วิสัยทัศน์: เป็นผู้นำในการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประชาชนสุขภาพดี บุคลากรมีความสุข ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึง ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านสุขภาพ ประสิทธิผล ประชาชนมีพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสม ท้องถิ่นมีข้อบัญญัติ และบังคับใช้คุ้มครองสุขภาพประชาชน มีมาตรการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี มาตรการป้องกันภาวะเสี่ยง ของการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ หน่วยบริการทุกระดับมี ระบบบริการที่มีคุณภาพ หน่วยบริการมีเครื่องมือที่ จำเป็นตามมาตรฐาน คุณภาพบริการ เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาค การบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล ที่มีประสิทธิภาพ มีมาตรการสื่อสาร ภาคีเครือข่ายภาครัฐมีการปฏิบัติงาน ร่วมกันแบบบูรณาการ ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ท้องถิ่น และประชาชน มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรสาธารณสุขมี ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน มีระบบเฝ้าระวังและ ควบคุมโรคที่เข้มแข็ง มีภาคีเครือข่ายการพัฒนา ระบบสุขภาพแบบองค์รวม บุคลากรมีสมรรถนะที่ จำเป็นในการปฏิบัติงาน พัฒนาองค์กร มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนาระบบสุขภาพ องค์กรมีการจัดการความรู้ ทุกระดับ มีระบบสารสนเทศในการ บริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมในที่ทำงานได้มาตรฐาน

  10. การจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2551 • รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สภาพปัญหา/แนวโน้มปัญหา • งานที่เกี่ยวข้องยกร่างแนวทางการพัฒนางาน • ประชุมร่วม ตัวแทนระดับอำเภอ/ตำบล เพื่อกำหนดกิจกรรมหลัก ของจังหวัด และพื้นที่ • พิจารณางบประมาณ และการบูรณาการงาน • ดำเนินการตามแผน

  11. งบ PP Area base ของจังหวัด งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ - แม่และเด็ก 1,965,470 บาท - เด็กก่อนวัยเรียน 982,540 บาท - เด็กวัยเรียน 2,205,731 บาท - วัยทำงาน 69,525 บาท - ผู้สูวอายุ 2,473,940 บาท งานP&P ที่เป็นปัญหาของพื้นที่ - โรคไข้เลือดออก 369,400 บาท - โรคเอดส์ 250,972 บาท - อาหารปลอดภัย 1,194,044 บาท - สุขภาพจิต 207,076 บาท - อบายมุข 248,316 บาท งานพัฒนาศํกยภาพในการทำงาน PP - การพัฒนาศักยภาพ SRRT 103,584 บาท - การพัฒนาสุขภาพโดยกระบายการบริหารแบบมีส่วนร่วมฯ 725,270 บาท - การพัฒนางานสุขศึกษาเพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพฯ 416,412 บาท

  12. Prov. Problem • โครงการรวมพลังเด็กไทยใส่ใจสุขภาพ 50,300 บาท • โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและเบาหวาน 243,754 บาท • โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพผู้ประกอบการยางพารา 200,000 บาท • โครงการส่งเสริมและบังคับใช้ พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 108,964 บาท • โครงการสร้างเสริมความรู้แก่ผู้บริโภคและสร้างทัศนคติที่ดีต่อผลิตภัณฑ์และบริการฯ 69,300 บาท • โครงการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบด้านสุขภาพ 28,200 บาท • โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาสารระเหย 42,000 บาท • โครงการพัฒนาการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพแบบบูรณาการโดยผู้จัดการครอบครัว 120,000 บาท • โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์โดยคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขฯเอดส์ 100,000 บาท

  13. โครงการบูรณาการงบประมาณจากหลายแหล่งโครงการบูรณาการงบประมาณจากหลายแหล่ง โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว อปท.+เกษตร+ชุมชน- โครงการวัดส่งเสริมสุขภาพ อปท.+วัด+ชุมชน+ชมรมผู้สูงอายุ- โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อปท.+โรงเรียน- โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก อปท.+ปภ.+ปศุสัตว์

  14. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ระดับอำเภอ/ตำบลการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ระดับอำเภอ/ตำบล • ผู้บริหาร ที่ประชุม กวป. • ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติระดับอำเภอ/ตำบล ประชุมชี้แจง • ผู้รับผิดชอบงานเฉพาะ การประชุมของงานต่าง ๆ

  15. การประเมินผลการดำเนินงานการประเมินผลการดำเนินงาน • จากรายงาน รายไตรมาส • การประเมินงาน • - ตรวจแนะนำ/ตรวจประเมิน • - ประเมินรับรองต่าง ๆ • - การประเมินผลงานในภาพรวมของจังหวัด

  16. แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้าน P&P • การพัฒนาศักยภาพตามส่วนขาด • - การจัดทำคู่มือ • - การประชุมอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ • - การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียน • การพัฒนาศักยภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนางาน • - การพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย • - การสัมมนาวิชาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกันโรค

  17. การจัดการความรู้ งานป้องกันควบคุมโรค - พิษสุนัขบ้า - ตำบลโคกขมิ้น อ.วังสะพุง - ไข้หวัดนก - ตำบลนาอาน อ.เมือง

  18. การวิจัยด้าน P&P- การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพ ผู้ประกอบการกิจการยางพารา- การศึกษาวิจัยชุมชน และการสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชน ชุมชนรอบเหมืองทอง

  19. แหล่งงบประมาณและความก้าวหน้าของการใช้งบประมาณ P&P Area baseวงเงินจัดสรร โอนแล้ว เบิกจ่ายแล้วจังหวัด12,912,381 9,038,666.5 3,292,121(ร้อยละ 36.42)เขต 5,539,760 2,215,904 1,000,000 (ร้อยละ 48.6)

  20. สวัสดี

More Related