1 / 21

ผลการดำเนินงานปี 2554

ผลการดำเนินงานปี 2554. ภายใต้ผลผลิตเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ. โดย. รอธ. นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข. หน่วยงานรับผิดชอบ. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี (ส.พ.ท.). สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์. งานที่รับผิดชอบมี 2 แผนงาน.

Télécharger la présentation

ผลการดำเนินงานปี 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานปี 2554 ภายใต้ผลผลิตเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ โดย รอธ. นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข หน่วยงานรับผิดชอบ สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี (ส.พ.ท.)

  2. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ งานที่รับผิดชอบมี 2 แผนงาน แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร มี 2 ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ แผนงาน : แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มี 1 โครงการ / 3 กิจกรรมหลัก

  3. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก : การวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ โครงการวิจัย จำนวน 12 เรื่อง งบประมาณ 4,017,500 บาท

  4. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก / 17 กิจกรรมย่อย กิจกรรมที่ 1 : ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านปศุสัตว์ กิจกรรมที่ 2 : คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ กิจกรรมที่ 3 : ศูนย์เครือข่ายเรียนรู้ด้านปศุสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 4 : สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และบริการด้านปศุสัตว์

  5. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มี 1 โครงการ / 3 กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงสัตว์ปีก กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงแพะ กิจกรรมที่ 3 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงโคเนื้อ ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ด้านการปศุสัตว์

  6. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แนวทางการดำเนินงาน : สำหรับงานส่งเสริมทั่วไป พัฒนาความรู้ความสามารถเกษตรกร เสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร พัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อย สนับสนุนการผลิตทางการค้าสู่มาตรฐาน พัฒนางานวิจัยเพื่อสนับสนุนเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ สร้างเครือข่ายการผลิตการตลาด ปรับระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

  7. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แนวทางการดำเนินงาน : สำหรับงานส่งเสริมใน จว.ชายแดนภาคใต้ กำหนดรูปแบบการส่งเสริมให้สอดคล้องกับศักยภาพ ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีของเกษตรกร พัฒนาความรู้เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง อุดหนุนปัจจัยการผลิตเพื่อปรับมาตรฐานการเลี้ยงสัตว์ ติดตามให้บริการสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์ เสริมสร้างความมั่นคงยั่งยืนในอาชีพการเลี้ยงสัตว์

  8. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การดำเนินการศึกษาวิจัย : ตามแผนงานการพัฒนาการเลี้ยงปศุสัตว์ (ผลผลิตที่ 1) ปัญหาที่พบ นวก.ในระดับจังหวัดและ สสอ. ไม่ให้ความสนใจในการจัดทำโครงการวิจัย นักวิจัยยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการทำการวิจัยด้านการส่งเสริม โครงการวิจัยไม่เป็นชุดโครงการที่บูรณาการหน่วยงานทำให้ผลจากงานวิจัย ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานส่งเสริมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  9. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การถ่ายทอดความรู้และให้บริการแก่เกษตรกร : ตามแผนงาน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร (ผลผลิตที่ 4)

  10. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ปัญหาที่พบ ผู้ปฏิบัติงานในระดับอำเภอยังให้ความสำคัญกับงานด้านการส่งเสริมน้อย โดยเฉพาะงานพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งแก่กลุ่มเกษตรกร การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรขาดการมีส่วนร่วม เป็นเหตุให้การถ่ายทอด ไม่สามารถแก้ไขปัญหาของเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานสนับสนุนในพื้นที่ยังไม่มีการปฏิบัติงานในลักษณะบูรณาการ สู่เป้าหมายเกษตรกรที่จังหวัดกำหนด ทำให้การส่งเสริมไม่ประสบผลสำเร็จ จนท.ผู้ปฏิบัติงาน ขาดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการทำงาน โดยเฉพาะองค์ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรรายย่อย รวมทั้ง เครื่องมือ อุปกรณ์และงบประมาณในงานส่งเสริมไม่เพียงพอ การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่นยังไม่มากพอ

  11. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร : แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้

  12. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ปัญหาที่พบ สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ทำให้ ประสิทธิภาพการทำงานลดลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกิดจากผลของ การประชาคม โดยหน่วยงานไม่ได้คัดเลือกเอง ทำให้ขาดความสนใจในการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ไม่เพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ได้รับ

  13. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาปศุสัตว์แบบมีส่วนร่วมสำหรับเกษตรกรรายย่อย กรมฯ อนุมัติใช้แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรกรรายย่อย เมื่อวันที่ ๒๗ เม.ย. ๕๔ มีสาระที่สำคัญ คือ เป้าหมายในการพัฒนาต้องชัดเจน 1 จังหวัด 3 ชนิดปศุสัตว์ยุทธศาสตร์ (อย่างน้อย) 1 อำเภอ 1 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ (อย่างน้อย) กลุ่มเกษตรกรต้องเริ่มคิดเป็น วางแผนเป็น เพื่อการพึ่งตนเอง 1 กลุ่ม 1 แผน 1 โครงการพัฒนาตนเอง

  14. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ พัฒนางานวิจัยเพื่อหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามภูมิสังคม ที่หลากหลายของเกษตรกร 1 กลุ่ม 1 แผน 1 โครงการพัฒนาตนเอง การถ่ายทอดความรู้ต้องสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ของเกษตรกร โดยมีเกษตรกรคนเก่งเป็นตัวอย่าง 1 กลุ่ม 1 แหล่งเรียนรู้ (เกษตรกรคนเก่ง) ทุกหน่วยต้องบูรณาการเพื่อสนับสนุนแผนงาน-โครงการ ของเกษตรกรสู่ความสำเร็จ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเผยแพร่ข้อมูลกลุ่ม แหล่งเรียนรู้ และข้อมูลการผลิตในลักษณะสื่อสาร 2 ทาง 1 กลุ่ม 1 ผลสำเร็จจากแผน-โครงการพัฒนาตนเอง

  15. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานขับเคลื่อน ทุกจังหวัดกำหนดชนิดปศุสัตว์ยุทธศาสตร์ประจำจังหวัด มีกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ (ส.พ.ท.) ภายใต้เป้าหมาย 1 อำเภอ 1 กลุ่ม จำนวน 862 กลุ่ม (เป็นอย่างน้อย) มีเกษตรกรคนเก่งที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งเรียนรู้ระดับอำเภอ จำนวน 862 ฟาร์ม (เป็นอย่างน้อย) และมีศูนย์เรียนรู้ระดับ จว. อย่างน้อย 76 ศูนย์ ทุกกลุ่มเกษตรกรมีโครงการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์เพื่อร่วมกัน ดำเนินการ 1 โครงการ กรมฯ กำหนดให้ 1 อำเภอ 1 กลุ่มเกษตรกร และ 1 เกษตรกร 1 แหล่งเรียนรู้ เป็นตัวชี้วัดผลงานของจังหวัด (รอบที่ 2)

  16. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ คู่มือปฏิบัติงาน

  17. ความมั่นคงทางการเมืองความมั่นคงทางการเมือง ความมั่นคงทางทหาร ความมั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงของชาติ ส่งเสริมการผลิตพืชพลังงาน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางสังคม ความมั่นคงทางอาหาร จัดทำยุทธศาสตร์สินค้าหลักเป็นรายสินค้า ผลิตอาหารอย่างเพียงพอกับ ความต้องการบริโภคภายในประเทศ(Availability) จัดทำทะเบียนเกษตรกร จัดให้มีระบบประกันความเสี่ยง จัดทำยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย (Food Safety) สนับสนุนให้ประชากรทุกระดับ เข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอ(Accessibility) สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ การวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้างและพัฒนาเกษตรกรอาสาสมัครหมู่บ้าน (อกม.) ส่งเสริมการผลิตอาหารคุณภาพดีลดการสูญเสีย และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม (Utilization) กำหนดเขตส่งเสริมการผลิต (Zoning) ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาองค์กรเกษตรกร พัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน รักษาเสถียรภาพการผลิตอาหาร (Stability) ฟื้นฟูอนุรักษ์ดินและน้ำ จัดให้มีระบบสวัสดิการชาวนา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 19

  18. การพัฒนาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการพัฒนาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 1 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 7 เน้นการใช้แรงงานและทรัพยากรธรรมชาติ ใช้ทุนมนุษย์ + เทคโนโลยีและนวัตกรรม + ความปรองดอง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ขาดสมดุล เน้นย้ำเศรษฐกิจพอเพียง ความสมดุลและยั่งยืน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 - 10 เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) มุ่งสู่เศรษฐกิจพอเพียง(Sufficiency Economy)

  19. สวัสดี 21

More Related