1 / 33

สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน. กรมควบคุมโรค. ความเป็นมา. กรมควบคุมโรคได้เฝ้าระวังภาวะหมอกควันอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตามสภาพอากาศซึ่งตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ ค่าที่ใช้ในการเฝ้าระวังคือ Air Quality Index (AQI) (PM10 +SO2+NOx+O3+CO)

river
Télécharger la présentation

สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน กรมควบคุมโรค

  2. ความเป็นมา • กรมควบคุมโรคได้เฝ้าระวังภาวะหมอกควันอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตามสภาพอากาศซึ่งตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ • ค่าที่ใช้ในการเฝ้าระวังคือ Air Quality Index (AQI) (PM10 +SO2+NOx+O3+CO) • ถ้า AQI สูงจะบ่งถึงสภาพอากาศที่ไม่ดี AQI ไม่ควรเกิน 100 • ทุกปีจะเกิดภาวะหมอกควันในช่วงกลางเดือนมีนาคม แต่ปีนี้ภาวะหมอกควันเริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ (เร็วกว่ากำหนด)

  3. เริ่มเกิดหมอกควัน สถานการณ์ทั่วไป: เวลาเริ่มต้นเหตุการณ์ กรมฯจัดประชุม

  4. ภูมิประเทศแบบแอ่งกระทะภูมิประเทศแบบแอ่งกระทะ

  5. สภาพอากาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์หมอกควันเริ่มจากลำปางและเลื่อนขึ้นเหนือ เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่ พะเยา พะเยา น่าน น่าน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน ่ ่ ลำพูน ลำพูน AQI AQI >140 # # 120 - - 140 100-120 ลำปาง ลำปาง ปกติ แพร่ แพร่

  6. สภาพอากาศ ณ วันที่ 8 มีนาคมหมอกควันเพิ่มขึ้นและเลื่อนไปยังเชียงราย พะเยา และสูงคงที่มาตลอดส่วนลำปางเพิ่มขึ้นแต่ไม่รุนแรงเท่าสองจังหวัดนี้ เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่ พะเยา พะเยา น่าน น่าน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน ่ ่ ลำพูน ลำพูน AQI AQI >140 # # 120 - - 140 100-120 ลำปาง ลำปาง ปกติ แพร่ แพร่

  7. การศึกษาการกระจายตัวของ PM10 โดย Google Earth

  8. ภาพการกระจายตัวของฝุ่นในวันที่ 28 มีนาคม 2552

  9. ภาพขยายแสดงการกระจายตัวของฝุ่นภาพขยายแสดงการกระจายตัวของฝุ่น

  10. ภาพขยาย

  11. ภาพขยายแสดงให้เห็นสภาพภูมิประเทศซึ่งไม่พบว่ามีความแตกต่างกันอาจไม่สัมพันธ์กับการมีฝุ่นมากภาพขยายแสดงให้เห็นสภาพภูมิประเทศซึ่งไม่พบว่ามีความแตกต่างกันอาจไม่สัมพันธ์กับการมีฝุ่นมาก

  12. ดูสาเหตุของการเกิดไฟป่าจาก Web firemapperhttp://maps.geog.umd.edu/activefire_html/checkboxes/thailand_checkbox.htm

  13. ภาพแสดง hotspot (จุดไฟป่า)ในวันเดียวกัน

  14. การซ้อนภาพจุดไฟป่า และหมอกควันบน google earth

  15. การเพิ่มขึ้นของ AQI กลางเดือนกุมภาพันธ์และลดลงในเดือนมีนาคม

  16. ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของ PM10 แสดงแนวโน้มที่ดี

  17. หมอกควันลดลงเพราะมีฝนตกประปรายในพื้นที่ (21มีค)

  18. Forecasting: เหตุการณ์จะสิ้นสุดเมื่อใด?

  19. อาจสิ้นสุดภายในวันที่ 25 มีนาคม จากการที่มีฝนตกทั่วประเทศ

  20. การนิเทศติดตามผลวันที่10 -12 มีนาคมในเขต10 สาเหตุของการเกิดหมอกควัน หมอกควันเกิดจากการเผาป่า ซึ่งมีหลายสาเหตุ ได้แก่ • สาเหตุทางเศรษฐกิจ • เพื่อผลิตผลจากป่าเช่น ผักหวาน ผักตุ๊ด เห็ดบางชนิด ฯ • เพื่อครอบครองพื้นที่สาธารณะ ผู้ใดเผาป่าก่อนจะได้ครอบครองพื้นที่ตามขอบเขตที่ได้เผาเอาไว้ เพื่อปลูกข้าวไร่ ข้าวโพด • เพื่อเตรียมพื้นที่ทำการเกษตร เนื่องจากไม่มีทุนในการจ้างแรงงานถางป่า • สภาพภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ ควันไฟไม่สามารถลอยออกไปนอกพื้นที่ได้ • จากมลพิษจากการจราจรในเมือง

  21. การรายงานข้อมูล • โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา ลำปาง และลำพูน)รายงานข้อมูลให้แก่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกวัน • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานให้กับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่10 สัปดาห์ละ2 ครั้ง • สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่10 รายงานให้กับสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมอาทิตย์ละครั้ง • สถานีอนามัยยังไม่มีการรายงานเนื่องจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้พิจารณาแล้วเห็นว่าสถานีอนามัยยังไม่มีความพร้อมในการรายงาน

  22. ผลการสอบสวน จังหวัดลำปาง พบว่าผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจในปี 52 มีอัตราสูงกว่าของปี 51 และโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือทางเดินหายใจส่วนบนและหอบหืด

  23. ความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นกับโรคหัวใจและทางเดินหายใจในลำปางความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นกับโรคหัวใจและทางเดินหายใจในลำปาง

  24. จำนวนของผู้ป่วยของจังหวัดเชียงราย เปรียบเทียบกับระดับของฝุ่นในบรรยากาศ

  25. จำนวนผู้ป่วยในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยโรคต่างๆในหมวด J, I และบางหมวดของ H (ตา) และ L (โรคผิวหนัง) ในต้นเดือนกุมภาพันธ์

  26. ความสัมพันธ์ระหว่างโรคทางเดินหายใจกับ PM10

  27. รายงานจากแม่ฮ่องสอนเดือนมีนาคมแสดงการเพิ่มของโรคทางเดินหายใจรายงานจากแม่ฮ่องสอนเดือนมีนาคมแสดงการเพิ่มของโรคทางเดินหายใจ

  28. รายงานจากแม่ฮ่องสอน(มีนาคม) แสดงค่าใช้จ่าย

  29. จำนวนผู้ป่วยแพร่ 1-15 มีนาคมโรคหัวใจรายงานแต่ละจังหวัดมีความแตกต่างกันมาก ขึ้นกับการนัด FU การรณรงค์ต่างๆด้วย

  30. ปัญหาอุปสรรค • ระบบการรายงานข้อมูลในพื้นที่ยังเป็นแบบกึ่ง Manual และต้องใช้เวลาในการปฏิบัติมาก • โรงพยาบาลบางแห่งขาดความพร้อมในแยกโรคตามรหัส ICD10 ที่สำนักฯกำหนด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้แก้ปัญหาโดยให้โรงพยาบาลส่งข้อมูลผู้ป่วยทุกราย จากนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมาคัดแยกผู้ป่วยเอง • ส่วนกลางยังขาดการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบการรายงานข้อมูลให้ทางพื้นที่ทราบ • หน่วยงานส่วนกลางยังขาดข้อมูลสนับสนุนด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความจำเพาะสำหรับการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากภาวะหมอกควัน • การให้คำจำกัดความในแบบรายงานยังไม่ชัดเจนเช่น หน่วยนับที่เป็นรายหรือเป็นจำนวนครั้ง

  31. ข้อเสนอแนะ • ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบการรายงานข้อมูลที่สอดคล้องกันการดำเนินงานในพื้นที่ เช่นการรายงานในระบบ12 แฟ้ม ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่ได้มีการดำเนินการอยู่แล้ว • ควรมีรูปแบบการดำเนินการแบบ Sentinel และ Rapid survey • สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ควรเตรียมความพร้อมสำหรับการเฝ้าระวังล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุการณ์ • สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯควรพัฒนาความรู้ให้หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ เพื่อให้พร้อมรับสถานการณ์และผลกระทบตามแนวทาง PHER • อุปกรณ์บรรเทาทุกข์ เช่นหน้ากาก ควร Available ตลอดเวลา

  32. ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม AAR(8 เมย. 52) • ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้องตามหลักสถิติ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างหมอกควันและการเกิดโรค • ควรสร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายเช่น สำนักระบาดวิทยาและเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่ให้มากขึ้น • ควรกำหนดบทบาทของการเฝ้าระวังของสำนักโรคฯให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้ซ้ำซ้อนกับงานของสำนักระบาดฯ • ควรกำหนดแบบรายงานให้เจาะจงกับโรคที่มีหลักฐานว่าเกิดจากหมอกควันเช่น Acute Exacerbation of Asthma, Myocardial infarction • ควรมีการวางแผนการดำเนินการล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ

More Related