1 / 40

รายงานความก้าวหน้า โครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์

รายงานความก้าวหน้า โครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์. ภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร. เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯทั้งหมด 83 ราย สุกร 2 , 187 ตัว. ฟาร์มขนาดกลาง 5 7 ราย สุกร 1, 822 ตัว. ฟาร์มรายย่อย 2 6 ราย สุกร 3 65 ตัว. สรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557.

robin-noble
Télécharger la présentation

รายงานความก้าวหน้า โครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้าโครงการฯรายงานความก้าวหน้าโครงการฯ ภายใต้ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์

  2. ภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกรภาพรวมโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯทั้งหมด 83 ราย สุกร 2,187 ตัว ฟาร์มขนาดกลาง 57 ราย สุกร 1,822 ตัว ฟาร์มรายย่อย 26 ราย สุกร 365 ตัว

  3. สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557

  4. สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557

  5. สรุปผลการรายงานข้อมูลสรุปผลการรายงานข้อมูล ณ สิงหาคม 2557 ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี พัทลุง ตรัง สตูล ชัยนาท สระแก้ว บุรีรัมย์ ยโสธร กาฬสินธ์ อุดรธานี มุกดาหาร หนองคาย นครพนม ลำปาง แพร่ พิจิตร นครปฐม สุพรรณบุรี

  6. เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม

  7. เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม

  8. เปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลองเปรียบเทียบน้ำหนักเฉลี่ยสุกรที่เริ่มทดลอง หน่วย : กิโลกรัม

  9. เสียงตอบรับจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯเสียงตอบรับจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ เกษตรกรยอมรับว่า ลดต้นทุนการผลิต สุกรที่กินอาหารเสริมหญ้าหมักมีอัตราการเติบโตเป็นปกติ ในฟาร์มที่ได้สิ้นสุดโครงการ พบว่าคุณภาพซากเนื้อสุกรไม่แตกต่างกัน

  10. ปัญหา อุปสรรค การดำเนินโครงการ

  11. ตัวอย่าง พื้นที่ที่ดำเนินการครบ ตั้งแต่ เลี้ยงสุกร จน ถึงเขียง

  12. การดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกรการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตสุกร โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพิจิตร • สถานที่ดำเนินการ ฟาร์มสุกรที่ ๑ นายสมจิตร กล่อมบาง ๓๑/๑ หมู่ ๖ ตำบลคลองทราย อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร ฟาร์มสุกรที่ ๒ นายสุนทร ปานรัตน์ ๑๒ หมู่ ๔ ตำบลวังทับไทร อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร

  13. เปรียบเทียบข้อมูลต้นทุนการผลิต ถึงวันที่ ๒๘ ก.ค.๕๗ ( ๕๙ วัน )

  14. สรุปตัวเลขที่สามารถลดต้นทุนสรุปตัวเลขที่สามารถลดต้นทุน วันเลี้ยงเลี้ยงสุกรลดลง ๑๕ วัน ประหยัดค่าอาหาร ก.ก. คิดเป็นเงิน ๑๓,๑๙๔ บาท เฉลี่ยต่อตัว ๕๒๗.๗๖ บาท รวมกับตัวเลขที่จัดเก็บได้ ๑๖๔.๐๗ บาท เป็นเงิน ๖๙๑.๘๓ บาท

  15. การเลี้ยงไก่ไข่ด้วยหญ้าเนเปียร์หมักการเลี้ยงไก่ไข่ด้วยหญ้าเนเปียร์หมัก

  16. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  17. ฟาร์มไก่ไข่ขนาดเล็ก / ขนาดกลาง ที่สมัครใจ เข้าร่วมกิจกรรมในพื้นที่ จังหวัดลพบุรี หนองคาย และสุพรรณบุรี สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  18. ๑.เริ่มทดสอบ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๗ พื้นที่ตำบลสระโบสถ์ และตำบลมหาโพธิ อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ๒. เกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรม ๒๐ ราย (ไก่ไข่ที่ใช้ทดสอบ ๒๒๕ ตัว/ อายุ ๑๖ สัปดาห์) ๓. ข้อมูล ถึง ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ พบว่า ไก่ไข่ที่กิน silage มีแนวโน้มให้ผลผลิตที่สูงกว่า / ผลตอบแทนต่อฟองดีกว่า/กลิ่นภายในคอกน้อยกว่า สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  19. ๔.เริ่มทดสอบ การใช้ silage ทดแทนที่ ๑๐ % วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ในพื้นที่และเกษตรกรเป้าหมายเดิม ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการเก็บข้อมูล โดยแบ่งกลุ่มทดสอบเป็น ๔.๑ กลุ่มใช้ Silage ๑๐ % จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๙๗ ตัว ๔.๒ กลุ่มใช้ Silage ๕ % จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๙๙ ตัว (ตามคำแนะนำของ ผอ.ศอส.ชัยนาท) ๔.๓ กลุ่มใช้อาหารปกติ จำนวน ๔ ราย ไก่ไข่ ๑๐๑ ตัว สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  20. ๕.ผลตอบแทนเบื้องต้น (ข้อมูลระหว่าง ๗ มิ.ย.๕๗ ถึง ๗ ก.ค.๕๗) ๕.๑ กลุ่มใช้ Silage ๑๐ % จำนวน ๑.๑๕ บาทต่อฟอง ๕.๒ กลุ่มใช้ Silage ๕ % จำนวน - บาทต่อฟอง (รอข้อมูลเพื่อประมวลผล) ๕.๓ กลุ่มใช้อาหารปกติ จำนวน ๐.๙๕ บาทต่อฟอง ส่วนต่างระหว่าง ๕.๑ และ ๕.๓ เท่ากับ ๒๐ สตางค์ ถ้า ๑๐๐ ฟอง = ๒๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  21. ควรมีการศึกษารายละเอียดหรือเก็บข้อมูลเพิ่มเติม เช่น สีของเปลือกไข่ ที่พบว่า ส่วนใหญ่ไข่ที่ได้จากไก่ไข่ที่กิน silage จะมีสีของเปลือกจางกว่า ไข่ที่ได้จากไก่ไข่ที่กินอาหารปกติ หรือลักษณะของการจับตัวของไข่ขาว หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง (สุขภาพสัตว์ มลภาวะ) นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้เกษตรกรได้ผลิต Silage ไว้ใช้เองในฟาร์ม สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  22. ผลการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตไก่ไข่ผลการดำเนินโครงการลดต้นทุนการผลิตไก่ไข่ ในพื้นที่จังหวัดหนองคาย

  23. ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ 1. นายอนันต์ สุวรรณสน หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 125 ตัว 2. นายสมจิตร ศรีคำ หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 208 ตัว 3. นายโชคทวี พิมพิลา หมู่ 4 ตำบลหนองปลาปาก ไก่ทดลอง 242 ตัว เริ่มดำเนินโครงการ 22 พฤษภาคม 2557

  24. ข้อมูลเปรียบเทียบ 3 ฟาร์ม

  25. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  26. นายมนัส หาญสมคิด หมู่ที่ ๑๑ ตำบลวังไก่เถื่อน อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท โทรศัพท์ติดต่อ ๐๙๐-๔๖๑๐๔๕๘ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  27. ๑ .เลี้ยงในระบบฟาร์ม โดยใช้อาหารข้นสำเร็จรูป เป็นอาหารหลัก ( เดิมครอบครัวประกอบอาชีพรับซื้อไข่เป็ดส่งตลาดไท ) ๒. การลงทุนในระยะแรก ๒.๑ ค่าก่อสร้างโรงเรือน ขนาด ๑๐ X ๑๕ เมตร ๑ หลัง เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒.๒ ค่าพันธุ์เป็ดไข่ อายุ ๔ เดือน จำนวน ๑,๒๐๐ ตัวๆละ ๑๒๐ บาท เป็นเงิน ๑๔๔,๐๐๐ บาท ๒.๓ ค่าอาหารข้นสำเร็จรูปวันละประมาณ ๒,๒๕๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  28. ๑ .เริ่มทดสอบ เมื่ออายุเป็ดได้ประมาณ ๕ เดือน ( เริ่มไข่ได้ ๑ เดือน ) หรือเมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ ๒. แบ่งการให้อาหาร เป็น ๓ ช่วง ๒.๑ เช้า ใช้อาหารข้น ๒ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๗ ก.ก. ๒.๒ กลางวัน ใช้อาหารข้น ๑ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๓.๕ ก.ก. ๒.๓ เย็น ใช้อาหารข้น ๑ กระสอบๆละ ๓๐ ก.ก.+ Silage ๓.๕ ก.ก. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  29. ๓.ปัจจุบันเป็ดมีอายุได้ ๖ เดือน สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  30. ปัจจุบันคงเหลือเป็ดประมาณ ๑,๑๐๐ กว่าตัว ปริมาณไข่ต่อวันประมาณ ๑,๐๐๐ ฟองขึ้นไป ( ๙๐ % ) ราคาที่จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ( ณ ๒๘ ก.ค.๕๗ ) สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  31. ๑.จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ต่อวัน ๒. หักค่าอาหารข้น ๕ กระสอบ ๆละ ๔๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๒๕๐ บาท คงเหลือรายได้ยังไม่หักค่าแรง + อื่นๆ จำนวน ๑,๕๕๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  32. ๑.จำหน่ายได้เฉลี่ยฟองละ ๓.๗๐ บาท หรือ ประมาณ ๓,๘๐๐ บาท ๒. หักค่าอาหารข้น ๔ กระสอบ ๆละ ๔๕๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท ๓. หักค่า Silage วันละประมาณ ๑๕ ก.ก. ๆละ ๒ บาทเป็นเงิน ๓๐ บาท ( กรณีที่ซื้อ) คงเหลือรายได้ยังไม่หักค่าแรง + อื่นๆ จำนวน ๑,๙๗๐ บาท สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  33. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  34. ๑. ช่วงแรกเป็ดไม่กิน Silage เพราะ กลิ่นของ Silageไม่คุ้นเคย ประกอบกับเป็ดได้รับอาหารอย่างเพียงพอ เจ้าของฟาร์มได้แก้ไขโดย นำ Silage ไปวางไว้บริเวณรอบๆ ที่เป็ดกินน้ำ เพื่อให้เป็ดได้ไซร้กิน โดยใช้เวลาประมาณ ๑๕ วัน จึงเริ่มผสมอาหารข้นให้กิน หลังจากนั้นเป็ดสามารถกิน Silage + อาหารข้น ในสัดส่วนทดแทน ๑๐ % ได้เป็นปกติ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  35. ๒. ช่วงที่ขาด Silage ประมาณ ๒ สัปดาห์ พบว่า ปริมาณ ไข่เป็ดมีแนวโน้มลดลง คิดเป็นประมาณ ๑๐ % ไข่ส่วนใหญ่มีลักษณะแหลมและเรียว เป็ดถ่ายค่อนข้างเหลว จากการสังเกตและดูสภาพแวดล้อม พบว่า ยังสัมผัสได้ถึงกลิ่นของมูลเป็ด แต่อาจเป็นเพราะช่วงนี้มีฝนตกบ่อย ต้องเก็บข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบกับสภาพอากาศที่ปกติ เบื้องต้นให้คำแนะนำเรื่องการจัดการมูลเป็ด เพื่อลดปัญหาเรื่องกลิ่นที่อาจส่งผลกระทบต่อเพื่อนบ้านในอนาคตได้ สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  36. ๓. ความเป็นไปได้จากการทดสอบเบื้องต้น การใช้ Silage ทดแทนการใช้อาหารข้น ๑๐ % สามารถลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ได้เป็นอย่างดี ปริมาณไข่เป็ดต่อวันเป็นที่พึงพอใจ ได้ให้คำแนะนำเจ้าของฟาร์มในเรื่องการผลิต Silageไว้ใช้เองภายในฟาร์ม (กรณีมีความพร้อมเรื่องแปลงหญ้า/แรงงาน) หรือ สั่งซื้อจากกลุ่มผู้ผลิต Silageจำหน่ายในพื้นที่ (เพื่อลดขั้นตอนในการผลิต Silage/เพื่อความสะดวก) สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  37. ๔. ฟาร์มยังไม่มีระบบการป้องกันโรค ได้แนะนำเรื่องระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ(Biosecurity) เพื่อป้องกันโดยเฉพาะจากการเคลื่อนย้ายไข่เป็ดไปจำหน่าย และการเข้าเยี่ยมชมฟาร์ม สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

  38. ฟาร์มที่ ๑ เป็ดไข่ ๑,๔๙๕ ตัว อายุ ๒๘ สัปดาห์ เดิมให้กินอาหาร ๒๔๐ ก.ก./วัน ใช้หญ้าหมักทดแทน ๑๐ % ให้อาหารผสม ๒๑๐ ก.ก. ให้หญ้าหมัก ๒๔ ก.ก. เริ่มทดลองวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ เสริมหญ้าหมัก ๑๐ วัน ให้ไข่เฉลี่ย ๑,๒๘๕ ฟองคิดเป็น ๘๕ % หยุดเสริมหญ้าหมัก ๗ วันให้ไข่ ๑,๓๔๖ ฟองคิดเป็น ๙๐ %

  39. ฟาร์มที่ ๒ เป็ดไข่ ๒๕๘ ตัว อายุ ๓๒ สัปดาห์ เดิมให้กินอาหาร ๑๕ ก.ก./วัน ใช้หญ้าหมักทดแทน ๑๐ % ให้อาหารผสม ๓๒ ก.ก. ให้หญ้าหมัก ๔ ก.ก. เริ่มทดลองวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ หยุดเสริมหญ้าหมัก ๑๕ วันให้ไข่เฉลี่ย ๑๖๒ ฟองคิดเป็น ๖๓ % เสริมหญ้าหมัก ๒๒ วัน ให้ไข่เฉลี่ย ๑๙๓ ฟองคิดเป็น ๗๕ %

More Related