1 / 46

สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – พ.ค . 2557

ศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน. สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – พ.ค . 2557. การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น. การผลิต. การนำเข้า (สุทธิ). * เดือน ม.ค. – พ.ค. การใช้. เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน. การนำเข้า / การใช้ 5 9 %.

romney
Télécharger la présentation

สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – พ.ค . 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงานศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน สถานการณ์พลังงานไทยม.ค. – พ.ค. 2557

  2. การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น การผลิต การนำเข้า (สุทธิ) * เดือน ม.ค. – พ.ค. การใช้ เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การนำเข้า/การใช้ 59 % หมายเหตุ : การนำเข้า (สุทธิ) หมายถึง การนำเข้าที่หักลบการส่งออกแล้ว

  3. การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ ไฟฟ้าพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า รวมทั้งสิ้น 2,039 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นต้น 0.2% * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  4. การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการผลิต พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* น้ำมันดิบ ลิกไนต์ คอนเดนเสท พลังน้ำ รวมทั้งสิ้น 1,091 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การผลิตพลังงานขั้นต้น1.3% * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  5. การนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น สัดส่วนการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ถ่านหินนำเข้า ก๊าซธรรมชาติและ LNG ไฟฟ้า รวมทั้งสิ้น 1,210 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การนำเข้า(สุทธิ) พลังงานขั้นต้น 8.3% * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  6. การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้ายการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 1,333 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  0.3% * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  7. การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายรายสาขาเศรษฐกิจ สัดส่วนการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รายภาคเศรษฐกิจ 36 % 36 % 36 % 35 % 36 % 8 % 8 % 8 % 8 % พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) 7 % 15 % 2557* 15 % 16 % 16 % 15 % 36 % 36 % 36 % 35 % 36 % 36 % 15 % 37 % 5 % 5 % 5 % 5 % 5 % รวมทั้งสิ้น 31,859 KTOE การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายเพิ่มขึ้นทุกสาขาเศรษฐกิจ * เดือน ม.ค. – พ.ค. ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

  8. ปริมาณสำรองพลังงานในประเทศไทยปริมาณสำรองพลังงานในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 หมายเหตุ : ปริมาณสำรอง P1 คือ Proved Reserves P2 คือ Probable Reserves และ P3 คือ Possible Reserves ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทยรวมพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย

  9. น้ำมัน

  10. การจัดหาน้ำมันดิบ สัดส่วนการจัดหาน้ำมันดิบ 14 % 15 % 15 % 7 % 12 % 2557* 20 % 7 % 7 % 8 % 8 % บาร์เรล/วัน 64 % 63 % 61 % 66 % 58 % 15 % 16 % 15 % 15 % 14 % ตะวันออกไกล ตะวันออกกลาง ผลิตในประเทศ แหล่งอื่นๆ รวมการจัดหาน้ำมันดิบ 964,766บาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  11. การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิตการนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต กาตาร์ สหรัฐเอมิเรตส์ โอมาน มาเลเซีย อื่นๆ (ตะวันออกกลาง) ซาอุดิอาระเบีย บรูไน อื่นๆ (ตะวันออกไกล) สหภาพโซเวียต ออสเตรเลีย อื่นๆ (แหล่งอื่นๆ) อินโดนีเซีย ตะวันออกกลาง ตะวันออกไกล 2557* แหล่งอื่นๆ การนำเข้าน้ำมันดิบ รวมนำเข้า 124,690 พันบาร์เรล หรือคิดเป็น 19,824 ล้านลิตร * เดือน ม.ค. – พ.ค. 7.0%

  12. การผลิตคอนเดนเสท สัดส่วน การผลิตคอนเดนเสท อื่นๆ บงกช บาร์เรล/วัน 2557* อาทิตย์ ไพลิน เอราวัณ ฟูนานและจักรวาล รวมทั้งสิ้น 92,340 บาร์เรล/วัน การผลิตคอนเดนเสท 3.1% * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  13. การใช้กำลังการกลั่นของประเทศการใช้กำลังการกลั่นของประเทศ Intake Capacity บาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  14. การผลิตน้ำมันสำเร็จรูปการผลิตน้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน 2557* LPG เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 155 ล้านลิตร/วัน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป0.8 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  15. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตรต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน 2557* LPG เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น130 ล้านลิตร/วัน * เดือน ม.ค. – พ.ค. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 0.2 % หมายเหตุ : LPG ไม่รวมการใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

  16. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล พันบาร์เรล/วัน LPG 2557* เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น816 พันบาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค. – พ.ค. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 0.2 % หมายเหตุ : LPG ไม่รวมการใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

  17. การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป LPG ล้านลิตร/วัน 2557* เบนซิน ดีเซล น้ำมันเตา เครื่องบิน รวมทั้งสิ้น 16 ล้านลิตร/วัน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป39.4 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  18. การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล เบนซิน ล้านลิตร/วัน 2557* น้ำมันเตา เครื่องบิน น้ำมันก๊าด LPG รวมทั้งสิ้น 24 ล้านลิตร/วัน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป14.9 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  19. การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศ สัดส่วนการส่งออก น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ สิงคโปร์ มาเลเซีย ล้านลิตร/วัน 2557* จีน อื่นๆ** ลาว กัมพูชา อเมริกา พม่า ฮ่องกง เวียดนาม แอฟริกาใต้ ** อื่นๆ ได้แก่ อังกฤษ ออสเตรเลีย เกาหลี ไต้หวัน ฯลฯ 63 % ส่งออกสิงคโปร์ มาเลเซีย และจีน * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  20. อุปสงค์ของ LPG สัดส่วนการใช้ LPG ปิโตรเคมี ครัวเรือน พันตัน/เดือน 2557* รถยนต์ อุตสาหกรรม ใช้เอง รวมทั้งสิ้น 628 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค. – พ.ค. การใช้ LPG 0.2% หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ใช้เอง หมายถึง ผู้ผลิตใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตเอง

  21. อุปทานของ LPG สัดส่วนการจัดหา LPG โรงแยกก๊าซ นำเข้า พันตัน/เดือน 2557* โรงกลั่นน้ำมัน รวมทั้งสิ้น 624 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค. – พ.ค. การจัดหา LPG 2.0 % หมายเหตุ : LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน

  22. ก๊าซธรรมชาติ

  23. การจัดหาก๊าซธรรมชาติ สัดส่วนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ ผลิตในประเทศ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2557* นำเข้าจากพม่า นำเข้า LNG รวมทั้งสิ้น 5,070 MMSCFD การจัดหาก๊าซธรรมชาติ 0.8 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  24. การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขาการใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา สัดส่วน การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ผลิตไฟฟ้า ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2557* โรงแยกก๊าซ อุตสาหกรรม NGV รวมทั้งสิ้น 4,548 MMSCFD การใช้ก๊าซธรรมชาติ 2.5 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  25. การใช้ NGV หน่วย : ตัน/วัน หน่วย : MMSCFD 2557 2557 2556 2556 2555 2555 2554 2554 2553 2553 การใช้ NGV  4.2 %

  26. ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์

  27. การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการจัดหา ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 43 % 50 % 48 % 48 % 49 % พันตัน 10 % 2557* 5 % 3 % 6 % 6 % 43 % 45 % 45 % 47 % 46 % 48 % 55 % รวมทั้งสิ้น 15,763 พันตัน * เดือน ม.ค. – พ.ค. การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 19.8 % หมายเหตุ : อื่นๆ หมายถึง ลิกไนต์ของเหมืองเอกชน ภายในประเทศที่ไม่ใช่เหมืองแม่เมาะ

  28. การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการใช้ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 45 % 49 % 43 % 52 % 51 % พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) 2557* 39 % 57 % 55 % 51 % 48 % 49 % 61 % รวมทั้งสิ้น 6,630 KTOE การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 1.9 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  29. ไฟฟ้า

  30. กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้ากำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้า กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้า ณ เดือนพฤษภาคม 2557 * เดือนพฤษภาคม 2557 7 % 7 % 7 % 7 % 5 % 10 % 11 % 7 % 7 % 7 % 38 % 38 % 39 % 38 % เมกะวัตต์ (MW) 39 % 2557* 46 % 45 % 44 % 48 % 49 % รวมทั้งสิ้น 33,379 MW กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้าจากเดือนมีนาคม จำนวน 750 MW เนื่องจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อยชุดที่ 4 กำลังผลิต 750 MW เข้าระบบในเดือนเมษายน

  31. การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ * เดือน ม.ค. – พ.ค. 6 % 7 % 4 % 7 % 20 % 20 % 18 % 20 % กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2557* 21 % 67 % 72 % 67 % 67 % 65 % รวมทั้งสิ้น 74,483GWh การผลิตไฟฟ้า 1.5 %เนื่องจากการใช้ก๊าซธรรมชาติและไฟฟ้าพลังน้ำลดลง

  32. การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.     น้ำมันเตา ดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ (ล้านลิตร) (ล้านลิตร) (MMSCFD) (ล้านตัน) * เดือน ม.ค. – พ.ค. • การใช้น้ำมันเตาเพิ่มขึ้น เนื่องจากใช้ทดแทนช่วงพม่าหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติช่วงต้นปี • การใช้ลิกไนต์เพิ่มขึ้น เนื่องจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะเดินเครื่องกำลังการผลิตเต็มกำลังในช่วงฤดูร้อน

  33. ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. 23เม.ย. 2557 เวลา 14:26 น. 26,942 MW 16 พ.ค. 2556 เวลา 14:00 น. 26,598 MW 2556 2555 เมกะวัตต์ (MW) 2554 2557 2553 Peak  1.3 % หมายเหตุ : ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) ไม่รวมที่ใช้ใน Station Service

  34. ปริมาณการใช้ไฟฟ้า สัดส่วนการใช้ไฟฟ้า PEA (4.2%) (3.9%) กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2557* MEA (0.6%) ลูกค้าตรง EGAT รวมทั้งประเทศ 68,377 GWh การใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ 0.8 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  35. การจำหน่ายไฟฟ้าจำแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้าการจำหน่ายไฟฟ้าจำแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้า กิจการเฉพาะอย่าง ส่วนราชการฯ * เดือน ม.ค. – พ.ค. สูบน้ำการเกษตร ไฟฟ้าชั่วคราว อื่นๆ*** ลูกค้าตรง กฟผ. กิจการขนาดใหญ่ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดเล็ก บ้านอยู่อาศัย ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทกิจการขนาดเล็ก/กลาง/ใหญ่แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ประเภทไฟฟ้าสำรอง ประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ และการใช้ไฟฟ้าที่ไม่คิดมูลค่า

  36. ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขาปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา ส่วนราชการฯ * เดือน ม.ค. – พ.ค. สูบน้ำการเกษตร ไฟไม่คิดมูลค่า อื่นๆ** อุตสาหกรรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ธุรกิจ กิจการขนาดเล็ก ครัวเรือน ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ

  37. การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญการจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญ อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ยานยนต์ พลาสติก ซีเมนต์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง เคมีภัณฑ์ * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  38. การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญการจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม อพาร์ทเมนต์ ขายปลีก อสังหาริมทรัพย์ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) โรงพยาบาล ขายส่ง ก่อสร้าง สถาบันการเงิน ภัตตาคาร * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  39. มูลค่าพลังงาน

  40. มูลค่าการนำเข้าพลังงานมูลค่าการนำเข้าพลังงาน สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงาน 8 % 8 % 9 % 10 % 8 % 8 % พันล้านบาท 9 % 7 % 2557* 11 % 4 % 77 % 76% 79 % 15% 79 % 80 % 72% รวมนำเข้า 629 พันล้านบาท มูลค่าการนำเข้าพลังงาน 9.0 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  41. มูลค่าการส่งออกพลังงานมูลค่าการส่งออกพลังงาน สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงาน 1 % 1 % 2 % 2 % 86 % พันล้านบาท 2557* 87 % 88 % 86% 93 % 13 % 12 % 12 % 10 % รวมส่งออก 132 พันล้านบาท มูลค่าการส่งออกพลังงาน 6.7 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  42. มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายมูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย สัดส่วนมูลค่า การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 6 % 6 % 6 % 7 % 5 % 4 % 7 % 25 % 24 % 3 % 26 % พันล้านบาท 27% 2557* 24 % 62 % 63 % 61 % 61 % 63 % รวมทั้งสิ้น 917 พันล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  2.1 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  43. มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูปมูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วนมูลค่า การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 11 % 11 % 11 % 11 % 11 % 5 % 9 % 5 % 14 % 16 % 9 % 16 % 5 % พันล้านบาท 17 % 2557* 48 % 46 % 47 % 47% 23 % 23% 22 % 23 % 22 % 23 % รวมทั้งสิ้น 578 พันล้านบาท มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป  3.1 % * เดือน ม.ค. – พ.ค.

  44. เปรียบเทียบราคาพลังงานเปรียบเทียบราคาพลังงาน น้ำมันเตา * 754 บาท/ล้าน BTU 318 ก๊าซธรรมชาติ * 95 ถ่านหินนำเข้า ** ข้อมูลถึงเดือน พ.ค. 2557 *ราคาขายปลีกเฉลี่ย **เป็นราคาเฉลี่ยนำเข้าของไทย (CIF)

  45. ราคา LPG (Contract Price) ราคา LPG เฉลี่ย* ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน 816 *ราคาเฉลี่ย Propane : Butane ที่ อัตราส่วน 60:40 ข้อมูลถึงเดือน พ.ค. 2557

  46. ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์ 167.3 166.5 น้ำมันดีเซล 140.3 122.4 120.0 113.7 121.3 น้ำมันก๊าด ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล น้ำมันเบนซิน 92.0 น้ำมันเตา * ข้อมูลถึงเดือน พ.ค. 2557 *น้ำมันเตา 1500%Sulfur

More Related