1 / 46

เอกสารเพิ่มเติม Update มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs

เอกสารเพิ่มเติม Update มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs. รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 9.00 - 16.30 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ

ronni
Télécharger la présentation

เอกสารเพิ่มเติม Update มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารเพิ่มเติมUpdate มาตรฐานการรายงานทางการเงินและสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 9.00 - 16.30 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด 1 1 1

  2. Component accounting

  3. Update ความรู้ทางบัญชีและภาษี • 101.5 FM 8-9 พุธ • www.curadio.chula.ac.th

  4. Fair Value มากเหลือเกิน เพราะแม่บท เน้น relevance (ข้อมูลต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ) แม้แลกด้วยความน่าเชื่อถือ • Fair Value เหมาว่าทุกกิจการมีทรัพยากรพอที่จะจ้างผู้ประเมินอิสระ/คนในเก่งในการกำหนด FV ได้

  5. แต้มสะสม (จาก CRM) • 1 แก้ว 11 บาท 1 แต้ม • สะสม 10 แต้ม • แก้ว 11 ฟรี • 11x 10 = 110 เพื่อ 11 แก้ว • คำนวณแต้มแยกมาเป็นรายได้รับล่วงหน้า เท่าที่เป็นไปได้จะเกิดใช้สิทธิ

  6. ประมาณการหนี้สิน (Provision) • ที่ผ่านมา มาตรฐานเดิมยากไป • ดูความน่าจะเป็นจะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะทำให้เสีย ป ย เชิงเศรษฐกิจ เช่น คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล • คิดลดจำนวนที่ประมาณได้

  7. ที่จะเป็นไปวันนี้ (“ ”ทำใจให้มากขึ้นอีกนิด) • ตัดเรื่องดูความน่าจะเป็นและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง  expected value • ตัดเรื่อง discount

  8. เลยลามมาถึงเรื่อง • ผล ป ย พนักงาน โดยเฉพาะ เงินชดเชยตาม กม แรงงาน + บำเหน็จ อนุญาตให้เลือก 3 ทาง • ทำตามมาตรฐานชุดใหญ่ (TAS 19) : ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย • คำนวณตามสูตรภายในบริษัทที่มองแล้วเห็นว่าใกล้เคียงคณิตศาสตร์ประกันภัย • ตั้งปีก่อนที่พนักงานจะเกษียณ + รู้แน่ว่าจนครบเกษียน

  9. ธุรกิจ NPAEs อาจเลือกทำบัญชีตามชุดใหญ่เพราะ • บริษัทที่มีบริษัทแม่ในต่างประเทศที่กำหนดให้บริษัทลูกในไทยทำตาม IFRS ส่งแม่ • บริษัทเป็นบริษัทลูก บริษํทแม่ในตลาดหลักทรัพย์ + หนังสือเวียนปี 46 ของ กลต. ขอความร่วมมือ บ ลูก (บ ร่วม) ให้ทำบัญชีใช้นโยบายบัญชีเดียวกับ แม่

  10. บริษัทเตรียมตัวจะเข้าตลาดฯบริษัทเตรียมตัวจะเข้าตลาดฯ • บริษัทไม่มีแผนเข้าตลาด อยากยกระดับการทำบัญชีทัดเทียมสากล

  11. บางบทมาจาก ม ชุดใหญ่  ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์

  12. P 44 • แปลว่าปีนี้ต้นไป ยกเลิกดูประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น หลังมีรายจ่ายต่อไปนี้ก่อนจะมาขึ้นบัญชีเป็น สินทรัพย์ • ต่อเติม • ดัดแปลง • ขยายออก • ปรับปรุง • เปลี่ยนแทน • ซ่อมบำรุง

  13. P 45 • สร้างอาคารลงในที่ดินที่เช่า • ติดตั้งอุปกรณ์ในอาคารหรือที่ดินที่เช่า + มีสัญญารื้อ หรือ บูรณะเมื่อสิ้นสัญญา + มั่นใจแน่ว่าจะต้องรื้อ หรือ บูรณะ + สามารถประมาณรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ (ยากที่จะตั้งลงมาทันที)

  14. Q: สินทรัพย์ได้มาก่อน 1/1/54 หากมีสัญญาทำนองนี้ หากไม่ได้ตั้งประมาณการหนี้สินไว้ ต้องปรับงบย้อนหลัง ???? • ไม่ต้อง • แต่เมื่อไร ที่มั่นใจว่าจะต้องรื้อ หรือบูรณะและสามารถประมาณรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ ให้

  15. ซื้ออาคารชุดมาทำ office ไม่ต้องลงบัญชีแยกระหว่าง • กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินและทรัพย์ส่วนกลาง • ตัวอาคาร Dr. อาคาร xx Cr. เงินสด xx

  16. หากเคยแยกลงบัญชีไว้ • ให้โอนปิดบัญชีกรรมสิทธิ์ร่วมและค่าเสื่อมสะสมของอาคาร ไปบัญชีอาคาร

  17. Dr. อาคาร xx ค่าเสื่อมสะสม - อาคาร xx Cr. กรรมสิทธิ์ xx

  18. Component acctg ข้อคิด • ไม่ถือปฏิบัติกับสินทรัพย์ถาวรที่มีหลายส่วนประกอบ แต่ไม่ได้แยกลงบัญชีไว้ ที่ได้มาก่อนรอบ 1/1/54

  19. ในการแยกส่วนประกอบของสินทรัพย์ควรมุ่งไปที่ในการแยกส่วนประกอบของสินทรัพย์ควรมุ่งไปที่ • Core assets เป็นลำดับแรก • Bangkok airways : เครื่องบินก็น่าพอ • โรงหนัง : เบาะ จอภาพฯ ตัวโรงหนัง ระบบสาธารณู • ธุรกิจผลิต: โรงงาน + เครื่องจักร • ในต่างประเทศ ส่วนประกอบที่แยกออกมาควรมีมูลค่าประมาณ 5-10% ของมูลค่ารวมของ สินทรัพย์รายการนั้น

  20. สำหรับส่วนประกอบที่ไม่ได้แยกออกมาสำหรับส่วนประกอบที่ไม่ได้แยกออกมา • ไม่มีการเปลี่ยนเป็นระยะๆ • เปลี่ยนเป็นระยะๆ แต่จำนวนไม่เยอะเลย ลงบัญชีรวมกันไว้เป็นส่วนประกอบเดียวกัน และให้คิดค่าเสื่อมไปตามอายุเฉลี่ยของส่วนประกอบเหล่านั้น

  21. หากมีค่าติดตั้งอุปกรณ์ : ในต่างประเทศรายจ่ายติดตั้ง/ทดสอบเดินเครื่อง ปันส่วนเข้าเป็นต้นทุนของแต่ละส่วนประกอบตาม สัดส่วน FV ของแต่ละส่วนประกอบ Dr. เครื่องบิน – เบาะ xx เครื่องบิน – เครื่องยนต์ xx เครื่องบิน – เครื่องครัว xx เครื่องบิน – อื่นๆ xx Cr. เจ้าหนี้ xx

  22. ด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวรด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร • ทบทวนวันปิดบัญชี ไม่ทำทุกเดือน • ดูเฉพาะด้อยถาวร กู่ไม่กลับ • ไม่ต้องใช้ผู้ประเมินอิสระ • หน่วยงานภายในหามูลค่าขายได้สุทธิ • หลังด้อยค่า ให้คิดค่าเสื่อมจากฐานที่เหลืออยู่

  23. มาตรฐานเซ็งจังเลยกับ • อาคาร 20 ปี • อุปกรณ์ 5 ปี • ราคาซาก 1 บาท • วิธีเส้นตรง อย่างเดียว • ไม่ประหลาดใจ ที่หมายเหตุ : มีสินทรัพย์ ถาวรจำนวนหนึ่ง ที่คิดค่าเสื่อมจนหมดแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่ • ผู้สอบบัญชี : ข้าพเจ้า รับรอง บัญชี

  24. การเปลี่ยนเรื่อง 3 ไม่ใช่การเปลี่ยนนโยบายบัญชี • เป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี • ไม่ต้องปรับงบย้อนหลัง • ให้ใช้วิธีเปลี่ยนทันที • ไม่ต้องอนุมติกรมสรรพากร • แต่ถ้าเอาอายุ ราคาซาก วิธีใหม่มาใช้เพื่อยื่นภาษี ต้องขออนุมัติ หากไม่อนุมัติ ในแง่ทางบัญชี ต้องทำไปตามมาตรฐาน NPAEs แต่ตอนยื่นภาษี ไปปรับกระทบยอด

  25. Investment Property • ที่ดิน อาคาร ส่วนควบ ถือไว้เพื่อ • หารายได้ค่าเช่า • เก็งกำไร • ทั้ง 2 อย่าง • กระทบต่อ • ธุรกิจอาคาร หรือ พื้นที่ให้เช่า • ธุรกิจที่ชอบซื้อที่ดินมา แต่ไม่มีแผนการว่าจะทำอะไร

  26. NPL • สร้างคอนโดเพื่อขาย • กันไว้ 1 floor ไม่ขาย เปิดให้เช่า แต่อนาคต ราคาดี ก็ขาย เป็น IP ด้วยหรือไม่ • หาก 1 floor แยกขายได้ ให้ถือ 1 เป็น IP

  27. ทำไมคิดต่างมุม ???? • IP ไม่รวมถึง • ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สร้างเพื่อเป็นสวัสดิการพนักงาน แต่รวมถึง - ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สร้างเพื่อให้เช่ากับบริษัทในเครือ

  28. ปีเนี๊ยะ • หากเคยรวม IP ไว้ใน PPE • ไม่มีอะไรให้บันทึกบัญชีเพิ่มเติม • เพียง reclassify รายการออกจาก PPE มาเป็น IP • ห้าม revalue • ห้ามใช้ MTM • ยึดราคาทุน หักค่าเสื่อมสะสมและค่าเผื่อด้อยค่า

  29. ปีนี้ต้นไป • จำแนกสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เป็น 2 ชนิด (mgmt ฟันธง) • มีอายุกำหนดได้แน่นอน : ตัดจ่ายตามอายุที่ได้ประโยชน์ + ทบทวนด้อยค่า • มีอายุกำหนดไม่ได้แน่นอน: ยังไงก็ต้องตัดจำหน่าย 10 ปีพอดี

  30. Q: หากมีเครื่องหมายการค้า ไม่ได้ตัดจำหน่ายมาเลย เพราะตีความเป็นสินทรัพย์มีอายุไม่แน่นอน ซึ่ง TAS 38 กำหนดว่าไม่ตัดจ่าย แต่เมื่อ NPAEs ประกาศใช้ ทำไง ?????? A: นำมูลค่าตามบัญชี เช่น 10 ล้าน ตัดไปตามอายุ 10 ปี โดยเริ่มปี 54 ไม่ต้องกลับปรับงบย้อนหลัง

  31. Q: หากเคยตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีอายุกำหนดไม่ได้แน่นอน (สงสัยไม่ได้อ่านมาตรฐานว่าให้ทำยังไง) 1) 5 ปี ตัดมา 2 ปี 2) 15 ปี ตัดมา 7 ปี พอมาตรฐานประกาศใช้ เอาไง

  32. Q: กรณีที่ตั้งค่าเผื่อหนี้จะสูญไว้มากไป ปีนี้มาโอนกลับบางส่วน Dr. ค่าเผื่อฯ xx Cr. กำไรจากโอนกลับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ xx หนี้สงสัยจะสูญอยู่ด้านเครดิต แสดงอย่างไรในงบกำไรขาดทุน 1) แสดงเป็นค่าใช้จ่ายติดลบ : มาตรฐานเดิม 2) แสดงเป็นรายได้อื่น: มาตรฐานไม่ได้บอกชัดเจน แต่กรอบแนวคิด (แม่บทเดิม) การเพิ่มค่าของสินทรัพย์คือรายได้

  33. กรณีวันปิดบัญชี • สินค้าลดมูลค่า • ล้าสมัย • ชำรุด • ราคาตลาดลดลง ต้องหา NRV เพื่อไปปรับมูลค่าสินค้าปลายงวดให้เท่ากับ NRV

  34. Perpetual Dr. ขาดทุนจากสินค้าลดมูลค่า xx Cr. สินค้า xx ไปแก้ stock card ให้แสดงราคาสินค้าตาม NRV ขาดทุนตัวเนี๊ยแสดงเป็นส่วนหนึ่งต้นทุนขาย

  35. กรณีสินค้าสูญหาย • ให้แสดงผลขาดทุนเป็น ค่าใช้จ่ายบริหาร

  36. ต้องเปิดเผยในหมายเหตุถึงผลขาดทุนที่รวมในต้นทุนขายต้องเปิดเผยในหมายเหตุถึงผลขาดทุนที่รวมในต้นทุนขาย Periodic เหมือนไปตรวจนับสินค้าด้อยค่าปลายงวดที่ราคา NRV เวลายื่นภาษี: ราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกว่า  สภากำลังคุยกับสรรพากร เพื่อให้สรรพากรทบทวนราคาตลาดว่าน่าจะแก้เป็น NRV หากทบทวนได้ตามนี้จริง ไม่น่าต้องบวกกลับขาดทุนจาก stock

  37. จูงใจให้ทำสัญญาเช่า ไม่ใช่ inflation ปี ค่าเช่า 1 30 2 40 3 50 120/3 = 40

  38. ปัจจัยดูว่าอายุแน่นอน/ไม่แน่นอนปัจจัยดูว่าอายุแน่นอน/ไม่แน่นอน • ใช้งานได้ตามประสงค์ ?????: หากใช่ โอกาสจะเปลี่ยนไปสินทรัพย์ตัวอื่น แทบไม่มี  อายุไม่แน่นอน

  39. Life cycle ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ?? หากในช่วง growth  หากใช่ โอกาสจะเปลี่ยนไปสินทรัพย์ตัวอื่นไม่มี  อายุยังไม่แน่นอน

  40. เสถียรภาพของอุตสาหกรรมของกิจการ: หากมั่นคง โอกาสจะเปลี่ยน สินทรัพย์อื่น ไม่มี  อายุกำหนดไม่ได้แน่นอน

  41. Dr. อาคารส่วนเพิ่ม xx Cr. ประมาณการหนี้สิน xx ให้คิดค่าเสื่อมส่วนเพิ่มไปตลอดอายุที่เหลือของอาคาร

  42. หากต่อมา ทบทวนใหม่พบว่ารายจ่ายรื้อ หรือ บูรณะเปลี่ยนไป สมมติว่า เพิ่มขึ้น ก็ให้ลงบัญชีเหมือนเดิม

  43. ขอแค่รายจ่ายเหล่านี้ ทำให้กิจการได้รับประโยชน์จาก สินทรัพย์เกิน 1 รอบ และวัดรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ ก็ขึ้นบัญชีเป็น สินทรัพย์เว้นสาระไม่สำคัญ ก็ ตัดเป็นค่าใช้จ่าย

  44. รายจ่ายเหล่านี้ให้แยกขึ้นบัญชีออกมาเป็น 1 account+ ให้คิดค่าเสื่อมไปตามอายุที่คาดว่าจะได้รับ ป ย ซึ่งอาจสั้นกว่าอายุที่เหลือของสินทรัพย์

  45. วิธีสอง (สนับสนุน) • เก็บสถิติย้อนหลัง 3 ปี • คนที่อยู่จนเกษียณ มักจะทำงานกับที่เรามาเกินกี่ปี มักจะเหลืออายุงานกี่ปีก่อนเกษียนที่จะไม่ลาออกก่อน สมมติว่ามักเป็นพนักงานที่ทำมา 10 ปีขึ้น และเหลือ 5 ปีสุดท้าย

  46. สมมติว่านาย ก ทำงานกับเรา 12 ปี เหลืออีก 8 ปี จะเกษียน • ปี 54 ปีแรกที่จะตั้ง provision  คำนวณเงินเดือน 10 เดือนของปี 54 สมมติว่าได้ 200,000  ควรตั้ง = 200,000 x 12/20 = 120,000 (past + current service cost)

More Related