1 / 82

Chapter 2

Chapter 2. Information Technologies: Concepts and Management. Learning Objectives. อธิบายถึงระบบสารสนเทศต่าง ๆ วิวัฒนาการ และจัดแบ่งระบบจำเพาะตามที่สังเกตุเห็น อธิบายถึง transaction processing และ functional information systems

rosalia
Télécharger la présentation

Chapter 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 2 Information Technologies: Concepts and Management Chapter 2

  2. Learning Objectives • อธิบายถึงระบบสารสนเทศต่าง ๆ วิวัฒนาการและจัดแบ่งระบบจำเพาะตามที่สังเกตุเห็น • อธิบายถึง transaction processing และ functional information systems • บ่งชี้ถึง major internal support systems และ แสดงความสัมพันธ์กับ managerial functions. • อธิบายการสนับสนุนของ IT ตลอดทั้ง supply chain รวมทั้ง CRM • กล่าวถึง information infrastructure และ architecture. • เปรียบเทียบ client/server architecture, mainframe-based legacy systems, และ P2P architecture รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง • อธิบายถึงรูปแบบหลัก ๆ ของ Web-based information systems และทำความเข้าใจถึงฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง • อธิบายถึง new computing environments. • อธิบายว่า information resources บริหารจัดการอย่างไร และ บทบาทของ ISD และ end users คือ อะไร Chapter 2

  3. Building an E-Business At FedEx Corporation • The problem/opportunity: • ตั้งแต่แรก FedEx ไม่มีแรงกดดันใด ๆ ไม่ว่าจากตัวธุรกิจหรือคู่แข่งรายอื่น ๆ ต่อมามีแรงกดดันเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากความต้องการทางธุรกิจเพื่อให้ส่งของได้เร็วขึ้นในราคาที่ต่ำลง และ ปรับปรุงทางด้านการบริการลูกค้า • จะเห็นว่า ไม่ได้มีปัญหาทางธุรกิจ แต่เป็นเรื่องของการอยู่เหนือคู่แข่ง โดยทำการ ปรับปรุงเพื่อสอดรับกับสิ่งที่ลูกค้าต้องการ • FedEx กำหนด Goal ขึ้นมาสองข้อ คือ • ก) 100% customer service • ข) 0% downtime Chapter 2

  4. IT Solution: • Software Application หลักที่ถูกนำมาใช้คือ e-Shipping Tools เป็น Web application ให้ลูกค้าตรวจสอบสถานะของการจัดส่งผ่านทาง Web • ต่อมาได้ทำ E-Commerce เต็มรูปแบบ Chapter 2

  5. Chapter 2

  6. Result: • รูปแบบทางธุรกิจที่สร้างขึ้นมาก่อมูลค่าให้แก่ลูกค้าหลายด้าน • สื่อสารและประสานงานกันได้ดีขึ้นตลอดการขายและsupply chain • ลดต้นทุน และ ลด Order cycle ลง • เพิ่มรายได้ และ มีกำไรมากขึ้น • เพิ่มการได้เปรียบในการแข่งขัน • FedEx ได้เปลี่ยนจาก old-economy shipping company มาเป็น e-business logistic enterprise Chapter 2

  7. Lesson Learned: • การเปลี่ยนเป็น e-business ต้องเปลี่ยนโครงสร้างและกระบวนการให้รองรับเทคโนโลยีด้วย • มุ่งเน้นที่ลูกค้า Chapter 2

  8. Application Hardware Software Data People 2.1 Information Systems: Concepts and Definitions • ระบบสารสนเทศ (Information System;IS):หมายถึงกระบวนการหนึ่ง ๆ ที่รวบรวมข้อมูล นำมาประมวลผล จัดเก็บในรูปแบบต่าง ๆ แล้วทำการวิเคราะห์ และ เผยแพร่สารสนเทศที่ได้ออกไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่จำเพาะเจาะจง (specific purpose) • Computer Based Information System (CBIS): หมายถึงระบบสารสนเทศหนึ่ง ๆ ซึ่ง ใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์เข้ามาจัดการกับงานที่ต้องการบางอย่าง หรือ ทั้งหมด • องค์ประกอบหลัก ๆ ของ IS ได้แก่ • Hardware • Software • Database • Network • Procedure • People Chapter 2

  9. Application Program • โปรแกรมประยุกต์ (Application Program)หมายถึงโปรแกรมหนึ่ง ๆ ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนงาน ๆ หนึ่งที่กำหนดขึ้นมา หรือ สนับสนุนกระบวนทางธุรกิจ กระบวนการหนึ่ง หรือ สนับสนุนโปรแกรมประยุกต์โปรแกรมอื่น ๆ ตามที่ออกแบบ • เมื่อทำการรวบรวมโปแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เอาไว้ทีแผนกหนึ่ง มักจะพิจารณาแผนก นี้ว่าเป็น departmental information system เช่น เป็นแผนกที่รวบรวมโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคล (Human resources)ก็เรียกว่า Human resources information system (HRIS) • ระบบสารสนเทศเป็นการเชื่อมระบบโดยนัยของโครงข่ายอิเลคทรอนิคส์ (electronic networks) ซึ่งอาจอยู่ในรูปของการใช้สาย (wireline) หรือ ไร้สาย (wireless) ก็ได้ Chapter 2

  10. Enterprisewide information system (EIS) • ถ้าทั้งบริษัทถูกเชื่อมต่อด้วยเน็ตเวิร์ค และ พนักงานสื่อสารกันและกันผ่านเน็ตเวิร์คและเข้าถึงสารสนเทศได้ทั่วทั้งองค์กร เรียกว่า Enterprisewide information system • ส่วนคำว่า Interorganizational information systemจะหมายถึง ระบบสารสนเทศที่วิ่งอยู่ระหว่างองค์กรสององค์กนหรือมากกว่า แต่ยังคงเป็นบริษัทเดียวกัน • ระบบสารสนเทศถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรองรับเป้าหมายหลายอย่าง หนึ่งในเป้าหมายหลักก็คือ จัดการกับข้อมูลให้อยู่ในรูปของสารสนเทศ หรือ องค์ความรู้ เราลองมานิยามความหมายของ ข้อมูล(data) สารสนเทศ(information) และ องค์ความรู้ (know-ledge)กันก่อน Chapter 2

  11. Data, Information, and Knowledge • ความหมายของ Data / Information และ Knowledge • Data itemsหมายถึงองค์ประกอบรูปแบบหนึ่งที่ใช้อธิบายถึง สิ่งของต่างๆ หรือ เหตุ การณ์ต่าง ๆ หรือ การกระทำต่าง ๆ หรือ การทำธุรกรรมที่ถูกบันทึกไว้ อาจถูกแบ่งชั้นและเก็บไว้เรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่ได้ทำการจัดแบ่งให้เป็นส่วน ๆ เพื่อให้บรรลุถึง ความหมายที่ต้องการ • Informationหมายถึงข้อมูลที่ถูกจัดแบ่งแล้ว ซึ่งจะมีความหมายและมีมูลค่าต่อผู้รับ • Knowledgeหมายถึงข้อมูล และ/หรือ สารสนเทศที่ผ่านการจัดรูปแบบและถูกประ มวล อันแสดงถึง ความเข้าใจ ประสบการณ์ การเรียนรู้แบบสะสมมา และ ความ ชำนาญเป็นพิเศษ เพื่อให้เรานำเอามาใช้แก้ปัญหาหรือการกระทำในปัจจุบัน ตอนนี้ KM กำลังมาแรง • ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า จุดมุ่งหมายหลักของระบบสารสนเทศคือ การรวบรวมข้อมูล • ต่างๆ แล้วนำมาประมวล(กลั่น)ออกมาเป็นสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้เป็นองค์ความรู้เฉพาะด้าน Chapter 2

  12. Information Systems Configurations • ระบบสารสนเทศหรือ IS จะประกอบด้วยองค์ประกอบ (components) ต่าง ๆ นำมาประกอบเข้าด้วยกันในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป(different configuration) ผลที่ได้จึงเป็นระบบ IS ที่มีการประยุกต์ใช้แตกต่างออกไปเช่นกัน Chapter 2

  13. 2.2 การจัดแบ่งและวิวัฒนาการของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ โดยทั่วไปแบ่งออกเป็นสองแบบคือ: • 1) แบ่งโดยอาศัยระดับในองค์กร (organizational level) • 2) แบ่งโดยอาศัยจุดมุ่งหมายในการให้การสนับสนุน (supportprovided) Chapter 2

  14. Level of Information Systems Chapter 2

  15. 1) แบ่งโดยอาศัยระดับในองค์กร • การจัดระบบสารสนเทศแบบนี้ เป็นจัดโดยมุ่งเน้นไปที่รูปแบบการใช้งานให้สอดคล้องกับโครงสร้างขององค์กรแบบเรียงลำดับชั้น จุดมุ่งหมายเพื่อให้การสนับสนุนการทำ งาน สามารถแยกออกได้เป็น • ก) Personal and Productivity Systems เป็นระบบขนาดเล็กที่สร้างขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการทำงานเฉพาะคน บางทีจึงเรียกว่า personal information management (PIM) เช่น ระบบใน PDA อันประกอบด้วย calendars, calculators, schedulers และ บันทึกช่วยจำต่าง ๆ • ข) Transaction Processing System (TPS) สนับสนุนในเชิงการเฝ้าดู การรวบรวม การจัดเก็บ การประมวล และ การกระจาย เกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางธุรกิจขององค์กร Chapter 2

  16. TPS ใช้กับงานประจำที่เป็นแบบอัตโนมัติและงานแบบซ้ำ ๆ งานเหล่านี้มีความ สำคัญต่อการดำเนินการขององค์กรเป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น การจัดเตรียมการ จ่ายเงินเดือน ส่งใบเก็บเงินไปยังลูกค้า Point-of-Sale และ การดำเนินงานในแวร์ เฮาส์ (Warehouse) • ข้อมูลที่ถูกรวบรวมจากงานข้างต้นจะเป็นข้อมูลสนับสนุนในส่วนของระบบ MIS และ DSS ที่ถูกใช้โดยผู้บริหารระดับกลาง (Middle Management) • การรวบรวมข้อมูลจะใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์จะถูกใช้ ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องสายโซ่แห่งคุณค่า(Value Chain) Chapter 2

  17. Chapter 2

  18. ค) Functional and Management Information Systems • แม้ว่า TPS จะครอบคลุมการดำเนินงานหลัก ๆ ขององค์กร แต่ functional area ยังมีการดำเนินการอีกหลายเรื่อง • Functional Management Information Systems ถูกนำมาใช้เพื่อให้มั่นใจว่า กลยุทธ์ทางธุรกิจสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล และรวมไปถึง การวางแผน การเฝ้าดู การควบคุม การดำเนินงานต่าง ๆ ด้วย • Functional information systems คือการจัดรูปแบบให้สอดคล้องกับฟังก์ชันการทำงานของแผนก(department)ที่ใช้กันทั่วๆไป หรือ เรียกว่า Departmental IS ซึ่งก็คือ IS ที่สนับสนุนการทำงานของแต่ละแผนก(department)ในองค์กรหนึ่ง ๆ(corporation) เช่นOperations, Accounting, Finance, Marketing, Human resources เป็นต้น Chapter 2

  19. ถ้ามองโดยกลุ่มคนผู้ใช้งานแล้ว Functional Information System แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ สนับสนุนผู้บริหารและสนับสนุนพนักงานทั้งหลายที่อยู่ใน functional area ต่าง ๆ • ระบบที่ให้การสนับสนันผู้บริหารเรียกว่า MIS (Management Information System) ระบบเหล่านี้เป็นการ เข้าถึง จัดรูปแบบ สรุปผล และ แสดงสารสนเทศเพื่อสนับ สนุนกระบวนการตัดสินใจตามฟังก์ชันของพื้นที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง MIS จะเกี่ยวพันกับผู้บริหารระดับกลาง ที่ใช้ MIS ในการทำรายงานที่ต้องสร้างขึ้นมาเป็นประจำ เช่น รายชื่อพนักงานรายวัน จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน หรือ ค่าใช้จ่ายรายเดือน เมื่อเทียบกับตัวเงินที่มีอยู่ เป็นต้น Chapter 2

  20. Sale forcast by region, generated by marketing MIS Chapter 2

  21. Example of Functional/Enterprise System • 1) Computerized Analysis Helps Texas Collect $400 Million Additional Taxes. • 2) The Dallas Mavericks: Using OT for Successful Play and Business. • 3) Sate-of-Art Human Resources Management in Chaina. • 4) Mobile Banking at Handelsbanken of Sweden Chapter 2

  22. ง) Enterprise Information Systems • ในขณะที่ function system สนับสนุนกิจกรรมภายในแต่ละแผนกและแยกออกจากแผนกอื่น ๆ แผนกใครแผนกมันมันไม่เกี่ยวข้องกัน Enterprise System ให้การสนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจต่าง ๆ (Business Processes) ที่ต้องเกี่ยวข้องกับสองสามแผนกขึ้นไป • กระบวนการทางธุรกิจ คือ การรวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ถูกดำเนินการเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ • ดังนั้น Enterprise information systems จึงจัดรูปแบบเพื่อรองรับหลาย ๆ แผนก หรือ ทั่วทั้งองค์กร หรือ เรียกว่า Enterprisewide Information System (EIS) (เป็นการเชื่อมหลาย ๆ แผนกเข้าด้วยกัน แต่ยังถือว่าอยู่ในภูมิศาสตร์เดียวกัน) เช่น ระบบ ERP เป็นต้น Chapter 2

  23. Business processes across and beyond the enterprise Chapter 2

  24. จ) Inter-organizational systems (IOS)เป็นระบบที่เชื่อมต่อองค์สององค์กรหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ถือเป็นส่วนกลางที่เชื่อมพันธมิตรทางธุรกิจเข้าด้วยกันและมีบทบาทที่สำคัญใน e-commerce เช่น สนับสนุนในด้านการบริหารจัดการเรื่อง supply chain • First type of IT system ถูกพัฒนาขึ้นมเมื่อ 1980 เพื่อปรับปรุงการสื่อสารระหว่างพันธมิตรทางธุรกิจคือ electronic data interchange (EDI) • Web-based systems (many using XML) เป็นตัวช่วยส่ง business applications ผ่านทาง Internet โดยการใช้ browsers และ Internet ทำให้คนต่างองค์กรกันสามารถสื่อสาร ทำงานร่วมกัน เข้าถึงข้อมูลมากมายได้ Chapter 2

  25. Chapter 2

  26. Inter-Organizational Systems (IOS) Two or more organizations Chapter 2

  27. ฉ) Global Information System หมายถึง IOS ทีเชื่อมต่อบริษัทต่าง ๆ ที่คนละประเทศกัน ตัวอย่างเช่นระบบ e-commerce หลาย ๆ ระบบเริ่มเป็น global • ฌ) Very Large and Special System เป็นระบบที่มีขนาดใหญ่และมักเป็น global ประกอบด้วยระบบย่อย ๆ หลายระบบ (ซึ่งระบบย่อยมักเป็น global Information System) อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 2.1 “Generating $62 Million per Employee at Western Petroleum” หน้า 49 Chapter 2

  28. 2) แบ่งโดยอาศัยจุดมุ่งหมายในการให้การสนับสนุน (supportprovided) Chapter 2

  29. Chapter 2

  30. How do different information system relate to each other? ถ้ามี 2 โมดูลรวมกัน เช่น ES-BI จะเรียกเป็น Integrated Support Systems Chapter 2

  31. 2.3) How IT Supports People and Organizational Activities • การแบ่งระบบสารสนเทศที่สำคัญอีกแนวทางหนึ่ง โดยการพิจารณาจากธรรมชาติของการดำเนินกิจกรรม ได้แก่ • ก) Operational Activities ใช้กับการปฏิบัติงานรายวันขององค์กร เช่น การกำหนดงานให้พนังานทำ บันทึกชั่วโมงทำงาน ออกใบสั่งซื้อ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้มักเป็นงานสั้น ๆ ระบบที่นำมาใช่สนับสนุน คือ TPS, MIS และ Mobile System ระบบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานจะถูกใช้โดย Supervisors (first-line manager), operators และ clerical employees • ข) Managerial Activities (บางทีเรียก tactical activities หรือ decisions) ใช้กับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารระดับกลาง (middle-management activities) เช่น การวางแผนการจัดองค์กร และการควบคุมในระยะสั้น ระบบบริหารโดยอาศัยคอมพิวเตอร์จะเทียบเท่ากับ MIS Chapter 2

  32. Chapter 2

  33. ค) Strategic activities คือ กิจกรรมหรือการตัดสินใจในสถานการณ์ที่สำคัญต่อความเปลี่ยนแปลงของการทำธุรกิจ ถือเป็นกิจกรรมในระยะยาว เช่น การวางแผนระยะยาว การขยายธุรกิจโดยการซื้อกิจการเข้ามาสนับสนุนส่วนที่ขาดหายไป หรือ outsourcing • ในอดีตนั้นการวางแผนระยะยาว คือ แผนในอนาคต 5 ปี หรือ 10 ปี แล้วเอามาแบ่งย่อยออกเป็นแผนระยะสั้นในภายหลัง แต่ในยุค digital economy นั้นแผนเหล่านี้ลดลงเหลือ 1 ถึง 2 ปี (หรือ หลายๆเดือนแต่ไม่ถึงปี) กิจกรรมเชิงกลยุทธฺช่วยให้ • 1) ดำเนินกิจกรรมสนองตอบเชิงกลยุทธ์อย่างรวดเร็วต่อการดำเนินกิจกรรมของคู่แข่ง หรือ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญต่อสภาพแวดล้อมขององค์กร • 2) เป็นผู้เริ่มก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก่อน แทนที่จะรอให้คู่แข่งเริ่มก่อน Chapter 2

  34. Who performs what activities in Organizational, and how are they supported by IT? Chapter 2

  35. ก) Executives and Managersผู้บริหารระดับสูงหรือระดับวางกลยุทธ์ (the executive) จะอยู่ระดับสูงสุดของสามเหลี่ยมทำหน้าที่ในการตัดสินใจ เมื่อเผชิญกับสถานะการที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญในการ ดำเนินธุรกิจให้ลุล่วงไปสิ่งสนับสนุนได้มาจาก BI และ Corporate Performance Management ส่วนผู้บริหารระดับกลาง (Middle managers) คือผู้ตัดสินใจเชิงกลวิธี (tactical decision) จึงต้องการการสนับสนุนจาก Functional information system, MIS ในส่วนที่เขาทำงาน ท้ายที่สุดแล้วเขายังชอบใช้ BI และ Intelligence system ซึ่งมีให้ใช้บน intranet • ข) Knowledge Worker, Clerical Staff, and Data Worker • ระดับของ Staff support ถูกใส่เข้ามาอยู่ระหว่าง top กับ middle management Chapter 2

  36. The Knowledge workers • พนักงานเหล่านี้ได้แก่ระดับ advisor และ ผู้ช่วยต่าง ๆ ของผู้บริหารระดับกลางและ ระดับสูง และมักจะเป็นผู้ชำนาญงานในด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ พนักงานระดับ มืออาชีพต่าง ๆ เหล่านี้ ถูกจัดอยู่ในประเภทพนักงานผู้ชำนาญ (knowledge workers)ซึ่งหมายถึงกลุ่มคนที่สร้างสารสนเทศและองค์ความรู้ (ถือเป็นส่วนหนึ่งของงาน ของพวกเขา และรวมสิ่งข้างต้นเข้าไปในธุรกิจ • IS ที่สนับสนุน Knowledge worker จะเป็นวงกว้างเริ่มจาก Internet Search engines (ช่วยค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ), expert system (ช่วยให้คำแนะนำและตีความสารสนเทศ) ไปจนถึง Web-based computer aided design (ปรับและเร่งกระบวนการออกแบบให้เร็วขึ้น) และ sophisticated data management system (ช่วยเพิ่มผลิตผลและคุณภาพในการทำงาน) Chapter 2

  37. The Clerical workers • พนักงานธุรการประกอบด้วยลูกจ้างจำนวนมากหลายระดับชั้น ทำหน้าที่สนับสนุน ผู้บริหารต่างๆในทุกระดับขั้นในบริษัท ในกลุ่มพนักงานธุรการเหล่านี้ ถ้าเขามีหน้า ใช้ หรือ จัดเตรียม หรือ เผยแพร่ข้อมูล จะถูกเรียกว่า data workers พนักงานเหล่านี้ ประกอบด้วยพนักงานบัญชีต่างๆ เลขานุการที่ใช้โปรแกรมประเภท word processors, electronic file clerks และ insurance claim processors. • บรรดา Data Workerจะได้รับการสนันสนุนโดย Office Automation และ Communication System อันประกอบด้วย document management, work flow, e-mail, และ coordination software Chapter 2

  38. The Operational Level • ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ หรือ first- line managers จะยุ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ องค์กรวันต่อวัน (ลักษณะงานเหมือนๆกันทุกวัน) ทำการตัดสินใจในงานที่ทำเป็น ประจำ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในรูปแบบทั่ว ๆ ไป เช่น การวางแผนระยะสั้น การปรับเปลี่ยนองค์กรและการควบคุมการปฏิบัติงาน • ค) Infrastructure for the Support Systemระบบสนับสนุนต่าง ๆ ด้านบน (สีเหลือง) สร้างอยู่บน information infrastructure เช่น internet, intranet, corporate portals, security systems และ corporate database Chapter 2

  39. ขยายความ Chapter 2

  40. วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนต่าง ๆ (1) • การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงธุรกิจอันแรก(กลางปี 1950) ก็คือนำมาช่วยงานที่ ทำซ้ำ ๆ ซึ่งก็คืองานคำนวณทางด้านธุรกรรมที่มีจำนวนมาก คอมพิวเตอร์จะช่วยรีด เอาตัวเลขออกมาในรูปของการสรุปผลในการทำธุรกรรมต่าง ๆ ขององค์กร ทั้งนี้ รวมถึงข้อมูลฝ่ายบัญชี การเงิน และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ระบบที่กล่าวมาข้างต้น เรียกรวมกันกว้าง ๆ ว่า Transaction Processing Systems (TPSs) • Management Information Systems (MISs)เป็นระบบที่เข้าถึง จัดรูปแบบ สรุปผล และ แสดงสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนฟังก์ชันการตัดสินใจในงานที่ทำซ้ำ ๆ ในพื้นที่ต่าง ๆ • Office Automation Systems (OASs):ตัวอย่างเช่น word processing systems ได้ถูก พัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการทำงานในสำนักงานและพนักงานธุรการ Chapter 2

  41. วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนต่าง ๆ (2) • Decision Support Systems:ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ซับซ้อน มากขึ้น และไม่ใช่เป็นงานที่ต้องทำเป็นประจำ • End- user computing:การใช้หรือพัฒนาระบบสารสนเทศต่าง ๆ โดยอาศัยพื้นฐาน ของผู้ใช้ที่ต้องการได้เอาท์พุทจากระบบ เช่น นักวิเคราะห์ ผู้บริหาร และ ผู้มีความรู้ ความชำนาญต่าง ๆ ช่วงนี้เกิดเมื่อปลายปี 1980 ในยุคของไมโครคอมพิวเตอร์ ระบบการตัดสินใจ (Supporting system) ได้ขยายออกมาเป็นสองทิศทาง คือ ก) มุ่งตรงไปยังผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System) และผู้บริหารทั่วไป (Enterprisewide information system) ข) กลุ่มคนทำงาน (Group support system) Chapter 2

  42. วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนต่าง ๆ (3) • Intelligent Support System (ISSs):ประกอบด้วยระบบผู้ชำนาญการ(expert systems)ซึ่งจัดเก็บองค์ความรู้ของผู้ชำนาญการเอาไว้ เพื่อให้ผู้ที่ยังไม่เก่งทำการศึกษาระบบผู้ชำนาญ การรุ่นใหม่ๆ จะรวมเอาความสามารถในการเรียนรู้ของเครื่องจักร (machine- learning) เอาไว้ด้วยทำให้มันสามารถเรียนรู้ได้จากกรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต • Knowledge Management Systems:สนับสนุนการสร้าง การวบรวม การจัดหมวดหมู่ การนำมารวมกัน การแยกออกจากกัน ขององค์ความรู้ในองค์กรหนึ่ง ๆ • Data Warehousing:คำว่า data warehouse หนึ่งๆ จะหมายถึง ฐานข้อมูลที่ออกแบบมาเพื่อสนับสนุนระบบ DSS, ESS และ กิจกรรมการวิเคราะห์และผู้ใช้งานขั้นสุดท้าย • Mobile Computing:ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนลูกจ้างที่ทำงานร่วมกับลูกค้าหรือ พันธมิตรทางธุรกิจภายนอกอาณาบริเวณของบริษัท ให้สามารถทำงานผ่านทางข่าย สาย(wire linenetwork)หรือไร้สาย (wireless network) Chapter 2

  43. วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนต่าง ๆ (4) • ที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาเพื่อสนับการใช้งานภายในองค์กร มาหลายสิ่งที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับภายนอกองค์กร • Electronic Data Interchange (EDI)เพื่อให้คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ของพันธมิตรทางธุรกิจ สื่อสารกันโดยตรงผ่านเอกสารทางธุกิจแบบมาตรฐาน ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นพื้นฐานของการตลาดอิเลคทรอนิคส์ (Electronic market) และพัฒนาต่อมา เป็น e-commerce • Customer Relationship Management (CRM)พัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนลูกค้า • Web-based systemพัฒนาขึ้นมาเมื่อกลางปี 1990 และมาแรงเอาในปี 2000 Chapter 2

  44. Integrated Support Systems • จากระบบที่เป็นอิสระจากกัน (stand alone) ก็เริ่มมีการผนวกรวมระบบสนับสนุนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การรวมกันของ DSS-ESS • อ่านเพิ่มเติมใน A Close Look “2.1 Intelligent price setting in retailing” หน้า 58 Chapter 2

  45. ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนกลุ่มพนักงานระบบสารสนเทศที่สนับสนุนกลุ่มพนักงาน • เมื่อทราบถึงการจัดกลุ่มตามระดับชั้นแล้ว มาดูว่าแต่ละกลุ่มต้องการระบบสารสนเทศอะไรมาสนับสนุนบ้าง ระบบสารสนเทศเหล่านี้ได้แก่ • 1) Transaction Processing System (TPS) • 2) Management Information Systems (MIS) • 3) Decision Support Systems (DSS) • 4) Intelligent Support Systems (ISS) • 5) Executive Support Systems (ESS) • 6) Office Automation Systems (OAS) • 7) Knowledge Management Systems (KMS) Chapter 2

  46. 1) Transaction Processing System (TPS) • TPS ใช้กับงานประจำที่เป็นแบบอัตโนมัติและงานแบบซ้ำ ๆ งานเหล่านี้มีความ สำคัญต่อการดำเนินการขององค์กรเป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น การจัดเตรียมการ จ่ายเงินเดือน ส่งใบเก็บเงินไปยังลูกค้า Point-of-Sale และ การดำเนินงานในแวร์ เฮาส์ (Warehouse) • ข้อมูลที่ถูกรวบรวมจากงานข้างต้นจะเป็นข้อมูลสนับสนุนในส่วนของระบบ MIS และ DSS ที่ถูกใช้โดยผู้บริหารระดับกลาง (Middle Management) • การรวบรวมข้อมูลจะใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์จะถูกใช้ ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องสายโซ่แห่งคุณค่า(Value Chain) • กล่าวโดยสรุป จุดมุ่งหมายหลักก็คือ ใช้ทำรายการทางธุรกรรมต่าง ๆ (transactions)และ เก็บรวบรวมข้อมูล Chapter 2

  47. 2) Management Information Systems (MIS) • ระบบเหล่านี้เป็นการ เข้าถึง จัดรูปแบบ สรุปผล และ แสดงสารสนเทศเพื่อสนับ สนุนกระบวนการตัดสินใจตามฟังก์ชันของพื้นที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง MIS จะเกี่ยว พันกับผู้บริหารระดับกลาง ที่ใช้ MIS ในการทำรายงานที่ต้องสร้างขึ้นมาเป็นประจำ เช่น รายชื่อพนักงานรายวัน จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน หรือ ค่าใช้จ่ายรายเดือน เมื่อ เทียบกับตัวเงินที่มีอยู่ เป็นต้น • ทั่ว ๆ ไปจะนำมาใช้ใน Replenishment, Pricing Analysis (Markdowns) และ Sales Management • รองรับการตัดสินใจปัญหาแบบมีโครงสร้าง • จุดมุ่งหมายหลักคือประมวลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ Chapter 2

  48. 3) Decision Support Systems (DSS) • ระบบเหล่านี้รองรับการตัดสินใจที่ซับซ้อนและไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นประจำ (complex non-routine) • จุดมุ่งหมายหลักคือประมวลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ • ระบบ DSS มักถูกใช้โดย tactical level management เพื่อช่วยในการตัดสินใจและ “การวิเคราะห์ในเชิงจะเกิดอะไรขึ้นถ้า (what-if analysis)” ซึ่งเป็นปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง • ระบบสารสนเทศชนิดนี้ มิได้ให้คำตอบเพียงอย่างเดียว แต่ยังให้สารสนเทศที่เป็น ทางเลือกด้วย • บางวิธีการของ DSS • Mathematical ModelingSimulation • QueriesWhat-If (OLAP-Cubes) • Datamining Chapter 2

  49. 4) Intelligent Support Systems (ISS) • เน้นไปที่ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence (AI))ซึ่งช่วยแก้ปัญหาในแบบ อัจฉริยะ (Intelligence) • รูปแบบหนึ่งของการประยุกต์ใช้ AI คือ ระบบผู้ชำนาญการ(Expert System; ES)ทำหน้าที่เก็บองค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญแล้วป้อนไปยังผู้ที่ยังไม่เก่งเพื่อช่วยแก้ปัญหา ดังนั้นมันจึงถูกนำมาใช้แก้ปัญหาที่ยุ่งยาก หรือ กินเวลานาน • ระบบเหล่านี้จะแตกต่างไปจาก TPS (ทำตัวเป็นศูนย์กลางของข้อมูล) MIS และ DSS (มุ่งเน้นไปที่การประมวลข้อมูล) โดยผู้ใช้ DSS จะตัดสินใจบนสารสนเทศที่สร้าง ขึ้นจากระบบเมื่อเปรียบเทียบกับ ES ระบบจะให้คำแนะนำในการตัดสินใจบน พื้นฐานของความชำนาญและองค์ความรู้ที่ใส่ลงไปในระบบ(built-in expertise and knowledge) Chapter 2

  50. 5) Executive Support Systems (ESS) • ระบบ ESS หรือ Enterprise Information Systems (EIS) แบบเดิม สร้างขึ้นมาเพื่อ สนับสนุน Senior management นอกจากนั้นยังขยายไปสนับสนุนผู้บริหารอื่น ๆ ในองค์กรด้วย • ในระดับ senior management level มันสนับสนุนการดำเนินการวางกลยุทธ์ ซึ่ง เกี่ยงข้องกับสถานะการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเปลี่ยนแนวทางการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมา Chapter 2

More Related