1 / 35

การเขียนรายการบรรณานุกรม

การเขียนรายการบรรณานุกรม. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อหนังสือ. - อักษรตัวแรกของคำที่มีความหมาย เฉพาะ ให้ใช้ ตัวพิมพ์ ใหญ่ - คำบุรพบท คำสันธาน ให้ใช้ ตัวพิมพ์ เล็ก หรือตัวเขียนเล็ก. ปีพิมพ์ ถ้ามีปีพิมพ์หลายปีให้ใช้ปีล่าสุด. ไม่ปรากฏเลขหน้า ไม่สมควรที่จะนำมาอ้างอิง.

Télécharger la présentation

การเขียนรายการบรรณานุกรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนรายการบรรณานุกรมการเขียนรายการบรรณานุกรม

  2. ชื่อผู้แต่ง

  3. ชื่อผู้แต่ง

  4. ชื่อหนังสือ - อักษรตัวแรกของคำที่มีความหมายเฉพาะ ให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ - คำบุรพบท คำสันธาน ให้ใช้ตัวพิมพ์เล็ก หรือตัวเขียนเล็ก

  5. ปีพิมพ์ ถ้ามีปีพิมพ์หลายปีให้ใช้ปีล่าสุด ไม่ปรากฏเลขหน้า ไม่สมควรที่จะนำมาอ้างอิง

  6. ครั้งที่พิมพ์ - ไม่ระบุการพิมพ์ครั้งที่ 1 จะระบุการพิมพ์ ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป - ภาษาไทย ใช้คำว่า ครั้งที่2. - ภาษาอังกฤษใช้อักษรย่อตามลำดับ เช่น3nd ed.

  7. เมืองหรือสถานที่พิมพ์เมืองหรือสถานที่พิมพ์ - ภาษาไทย : จังหวัดที่สำนักพิมพ์ตั้งอยู่ ถ้ากรุงเทพมหานคร ใช้ว่า กรุงเทพฯ เลย - ภาษาอังกฤษ : ถ้ามีเมืองพิมพ์หลายเมืองใช้เมืองแรกที่ปรากฏเช่น NewYork London

  8. สำนักพิมพ์ ใส่ชื่อสำนักพิมพ์เลยไม่ต้องใส่คำประกอบอื่น ๆ -สำนักพิมพ์แท้จริง : บริษัทห้างร้านที่ขายหนังสือ - สำนักพิมพ์รอง : หน่วยงานที่ผู้เขียนปฎิบัติงานอยู่ - โรงพิมพ์ : ให้ระบุคำว่าโรงพิมพ์ทุกครั้ง

  9. รูปแบบการเขียน-พิมพ์บรรณานุกรมรูปแบบการเขียน-พิมพ์บรรณานุกรม

  10. รูปแบบการเขียน-พิมพ์บรรณานุกรมรูปแบบการเขียน-พิมพ์บรรณานุกรม ผู้แต่ง.//ชื่อหนังสือ.//(ปีที่พิมพ์).///////ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์.

  11. หนังสือภาษาไทย ชื่อ/นามสกุล.//ชื่อหนังสือ.//(ปีที่พิมพ์).///////ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์.

  12. หนังสือภาษาต่างประเทศหนังสือภาษาต่างประเทศ นามสกุล,/ชื่อต้น/ชื่อกลาง//.//ชื่อหนังสือ.//////////(ค.ศ.ปีที่พิมพ์). ครั้งที่พิมพ์.//เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์.

  13. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่ง 1 คน) ธัญญาสังขพันธานนท์.//(2538). //ปรากฏการณ์ แห่งวรรณกรรม.//ปทุมธานี/:/นาคร. Robert, E. Kirk.//(1984).//Principle of physicalChemistry.//Boston/:/Allyn and Bacon.

  14. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่ง 2 คน) - ให้ใส่ชื่อผู้แต่งทั้ง 2 คนแล้วใช้คำว่า และ andคั่น - ภาษาอังกฤษให้สลับนามสกุล ชื่อคนแรกเพียงคนเดียว

  15. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่ง 2 คน) ธงชัย สันติวงษ์ และชัยยศ สันติวงษ์.//(2539).///////การเงินธุรกิจ.//พิมพ์ครั้งที่5.// กรุงเทพฯ/:/ไทยวัฒนาพานิช, Aaronson, Doris and Robert W. Rieber.//(1979). Psycholinguistic Research : Implications and Applications.//Hillsdale,/N.J. : Lawrence.

  16. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่ง 3 คน) - ให้ใส่ชื่อผู้แต่งทั้ง 3 คนแล้วใช้จุลภาคคั่น คนที่ 1, 2แล้วใส่คำว่า และ / and คั่น คนที่ 2 กับ 3 - ภาษาอังกฤษให้สลับนามสกุล ชื่อคนแรก เพียงคนเดียว

  17. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่ง 3 คน) นฤมล ปราญโยธิน, ทวีศักดิ์ ก่ออนันตกูล และเปรมิน จินดาวิมลเลิศ. ///////(2536).//ธิซอรัสกับระบบสารสนเทศ.//กรุงเทพฯ/:/ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์. Strasser, Marland M., Jame E. Aaron and Ralph C.Bohn. (1973).//Fundamentals of Safety Education.// 2nd ed.//New York /:/ PP Print.

  18. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่งมากกว่า 3 คน) ให้ใส่ชื่อผู้แต่งคนแรกแล้วตามด้วยคำว่า - และคนอื่น ๆ - และคณะ -and others

  19. ตัวอย่างบรรณานุกรม (ผู้แต่งมากกว่า 3 คน) บรรจง อยู่ทอง และคณะ.//(2522).//โจทย์แบบฝึกหัด และคู่มือหลักการบัญชี 2.//กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อรุณี พลชนะ และคนอื่นๆ.//(2522).//คู่มือหลักการบัญชี2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. Agarwal, G. P. and others.//(1990).//Microbial Bioproducts.//Berlin/:/Springer,/

  20. หนังสือที่มีผู้แต่งมีบรรดาศักดิ์ ราชทินนาม - ให้สลับพระนาม นาม ราชทินนาม ขึ้นนำหน้า คั่นด้วยจุลภาค- แล้วตามด้วย ราชศักดิ์ ยศ คึกฤทธิ์ ปราโมช, พล ต. ม.ร.ว.//(2537). สี่แผ่นดิน.//พิมพ์ครั้งที่3.//กรุงเทพฯ/:/ สยามรัฐ.

  21. หนังสือที่มีหน่วยงานราชการเป็นผู้แต่งหนังสือที่มีหน่วยงานราชการเป็นผู้แต่ง สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.//(2538).ประวัติครู พ.ศ.2537.กรุงเทพฯ/:/สำนักงานเลขาธิการคุรุสภากระทรวงศึกษาธิการ.

  22. หนังสือแปล ชื่อผู้เขียน นามสกุล.//ชื่อเรื่อง.//(ปีที่พิมพ์). แปลจาก(ชื่อเรื่องดั้งเดิม)/โดย/ ชื่อผู้แปล.//ครั้งที่พิมพ์.// เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์.

  23. ตัวอย่างหนังสือแปล

  24. หนังสือผู้แต่งที่ใช้นามแฝงหนังสือผู้แต่งที่ใช้นามแฝง อนุมานราชธน,/พระยา.//(2552). ประเพณีเนื่องในเทศกาล.//เสถียรโกเศศ/(นามแฝง).// พิมพ์ครั้งที่ 2.//กรุงเทพฯ/:/สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. -หากทราบนามจริงให้ใช้นามจริงเป็นผู้แต่ง แล้วจึงระบุนามแฝงต่อท้ายชื่อเรื่อง -แต่ถ้าไม่ทราบนามจริงก็ใช้นามแฝงนั้นเป็นผู้แต่งโดยต้องมีวงเล็บกำกับด้วยว่าเป็นนามแฝง เช่น

  25. วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ -ถ้าเป็นภาษาไทยให้ต่อด้วยอักษรย่อปริญญา สำหรับเมืองที่พิมพ์และสำนักพิมพ์นั้นให้ใช้ชื่อเองและสถาบันการศึกษาที่ประสาทปริญญานั้น

  26. วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์

  27. วารสาร ชื่อผู้เขียน.//(ปี, วันเดือนปี).”ชื่อบทความ.”/ชื่อวารสาร.//ปีที่ (ฉบับที่) : เลขหน้าของบทความ.

  28. วารสาร • เลขปีที่ (เลขฉบับที่) หากไม่มีเลขปีที่ให้ใส่เลขฉบับที่โดยไม่มีวงเล็บ

  29. หนังสือพิมพ์

  30. การสัมภาษณ์ ชื่อ นามสกุลผู้ให้สัมภาษณ์.//(วันเดือนปี ที่สัมภาษณ์).//ตำแหน่งผู้สัมภาษณ์.// สัมภาษณ์.

  31. โสตทัศนวัสดุ ชื่อผู้แต่ง.//ชื่อเรื่อง.//(ประเภทของ วัสดุ).//เมือง/:/หน่วยงาน ที่ผลิต.//ปี.

  32. สารสนเทศจากฐานข้อมูลซีดีรอมสารสนเทศจากฐานข้อมูลซีดีรอม ให้เขียนตามรูปแบบของวัสดุสารสนเทศต้นฉบับ แล้วกำกับท้ายรายการโดยวงเล็บชื่อฐานข้อมูล และหมายเลขข้อมูล

  33. สื่อจากเว็บไซต์ ชื่อผู้แต่งหรือหน่วยงานที่จัดทำ.// (ปีที่เผยแพร่).//ชื่อเรื่องของเว็บ.// ค้นเมื่อวัน เดือน ปี,// จากชื่อ URL.

  34. สื่อจากเว็บไซต์ ชื่อเรื่องของเว็บ.//(ปีที่เผยแพร่).// ค้นเมื่อวัน เดือน ปี,//จากชื่อ URL. กรณีไม่ระบุชื่อผู้เขียน ให้ลงชื่อเรื่องเลย

  35. ซักถาม อภิปราย

More Related