1 / 49

เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ

เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ. วิชาจุลชีวะและปรสิตวิทยา Amporn Thiengtrongdee 28/03/12. วัตถุประสงค์. เข้าใจถึงการก่อโรค การดำเนินการของโรค จากเชื้อราและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เข้าใจปฏิกิริยาของร่างกายต่อเชื้อรา สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติตนได้เมื่อเกิดการติดเชื้อรา

Télécharger la présentation

เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพเชื้อราที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ วิชาจุลชีวะและปรสิตวิทยา Amporn Thiengtrongdee 28/03/12

  2. วัตถุประสงค์ • เข้าใจถึงการก่อโรค การดำเนินการของโรค จากเชื้อราและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • เข้าใจปฏิกิริยาของร่างกายต่อเชื้อรา • สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติตนได้เมื่อเกิดการติดเชื้อรา • สามารถนำความรู้ไปใช้ในการฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลได้

  3. สารบัญบทเรียน • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชื้อรา สรีรวิทยาของเชื้อรา ความสำคัญทางการแพทย์ของเชื้อรา โรคที่เกิดจากเชื้อรา 2. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ

  4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชื้อราความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชื้อรา • เชื้อรา เป็นสิ่งมีชีวิตพวกเห็ดและราที่ใช้หมักเพื่อทำอาหารและเครื่องดื่ม • Mycology เป็นภาษากรีก Mykes=mushrom=fungus logos=discourse (วิชา) Mykey+logos=วิชาการศึกษาเรื่องเห็ด • Fungus (Fungi เป็นพหูพจน์) (เห็ด) ภาษาละติน

  5. ความเป็นมา • Robert Remark ชาวโปแลนด์ได้ศึกษาการก่อโรคของเชื้อราในคนที่เป็นกลากบนศีรษะ เมื่อปี 2406 • Louis Pasteur &Robert kock บุกเบิก วิชาแบคทีเรียทำให้วิชาเชื้อราซบเซาไป • ในปี พ.ศ. 2443 Raymond Sabouraud ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้รื้อฟื้นวิชาและเขียนตำราชื่อ Les teignes (the tinea) ทำให้วิชานี้เจริญรุดหน้ามาจนปัจจุบัน

  6. สรีรวิทยาของเชื้อรา • เป็น eucaryotic cell มีนิวเครียส มีซัยโตปลาสซึม • ต้องการแร่ธาตุต่างๆในการเจริญเติบโต • เชื้อราส่วนมากเจริญที่ 10-40 °c • เชื้อราก่อโรคเจริญได้ที่ อุณหภูมิห้อง 25-37 °c • ส่วนมากต้องการออกซิเจนในการเจริญเติบโต และแพร่พันธุ์ • อยู่ในภาวะสองรูป -อยู่ตามธรรมชาติ 20-28 °c คงรูปเป็นราสาย พอเข้าสู่ร่างกายหรือนำไปเพาะที่อุณหภูมิ 37 °c จะเป็นยีสต์ เช่น Histoplasma capsulatum, Peniciilium marneffei

  7. ลักษณะทั่วไปของเซลล์เชื้อราลักษณะทั่วไปของเซลล์เชื้อรา • เป็นพวก Primitive microorganism • มี cell wall, cell membrane • ไม่มี chlorophyll (saprophyte or parasite) • เจริญแพร่พันธ์ที่ 10-40 °cpH 4-8 • สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบใช้เพศและไม่ใช้เพศ • พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ในอากาศ น้ำ ดิน • Morphology แบ่งได้ 2 แบบ คือ yeast และ mold or muold • อาหาร ราต้องการธาตุคาร์บอน ในการเจริญเติบโต เช่น น้ำตาล กรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ โปรตีน ไขมัน โพลีแซคคาไรด์

  8. Mold Yeast

  9. Yeast • เป็นเซลล์เดี่ยว รูปร่างกลม รี หรือยาวรี ขนาด 2-10 µ • สืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) พร้อมกับการแบ่งตัวของ nucleus • การแตกหน่อบางครั้งไม่หลุดจากกันและต่อเป็นสาย สายที่เกิดนี้เรียก pseudohypha ซึ่งไม่มีผนังกั้น • ลักษณะของ colony มีสีต่างๆเช่น ขาว ส้ม ดำ ผิวหน้าคล้ายเนย หรือคล้าย colony ของแบคทีเรีย • บางสายพันธุ์มี capsule ล้อมรอบ colony เป็นมูก เช่นCryptococcus neoformans

  10. Budding Yeast

  11. Yeast infection

  12. Yeast infection

  13. ลักษณะการติดเชื้อรา ผิวหนังจะหนาและสีคล้ำ

  14. Mold or mould • อยู่เป็นกลุ่มเรียก mycelium มี 2 พวก คือ vegetative และ reproductive mycelium • ลักษณะ colony มีสีต่างกัน เช่น ดำ ขาว เขียว เหลือง • ผิวหน้าของ colony -ฟูคล้ายขนสัตว์ (cottony, wooly) เช่น Mucor sp. -นุ่มคล้ายกำมะหยี่ (velvety) เช่น Phialophora sp. -ผิวหน้าเป็นผงคล้ายเกร็ดน้ำตาล ผงแป้งหรือเม็ดทราย เช่น Mycrosporum gypseum -เนียนคล้ายหนัง (glabrous, waxy) เช่น Trichophyton sp. • ด้านล่างอาจมีสีหรือไม่มีสี

  15. mycelium

  16. mycelium

  17. mold

  18. Mold or mould จำแนกตามขนาดและผนังกั้นได้ 2 ชนิด 1. Saptate hypha ราสายที่มีผนังกั้น สายราขนาด 1-2 µ 2. Non-saptate hypha ราสายที่ไม่มีผนังกั้น สายราขนาด10 µ colony มักฟูมากกว่า Saptate hypha และ mycelium

  19. การสืบพันธุ์ของเชื้อราการสืบพันธุ์ของเชื้อรา Conidium, conidia แบบไม่ใช้เพศ • เกิดจากสายราหรือเซลล์รา -Binary fission เช่น Penicillim mareneffei -Budding, Blastoconidia เช่น Cryptococcus neoformans -Chlamydoconidia (ป่อง)พบในเชื้อราที่เจริญ ในภาวะขาดแคลนอาหาร ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี เช่น Canida albicans -Arthroconidia (ปล้อง) เกิดผนังกั้นและปล้องต่อๆกัน เมื่อแก่จะหลุดออกจากกัน เช่น Geotrichum candidium

  20. การสืบพันธุ์ของเชื้อรา (ต่อ) 2. เกิดบนก้านชู -canidiophore สร้างจากสายราเดิมเป็นรูป หยดน้ำตาเรียก microconidia หรือมี หลายเซลล์และมีผนังกั้นเรียก macroconidia ซึ่งมีหลายแบบได้แก่ • Fusiform รูปกระสวย • Club shape รูปกระบอง • Cylindrical รูปกระบอก • Pear shape รูปลูกแพร์

  21. การสืบพันธุ์ของเชื้อรา (ต่อ) การสืบพันธุ์แบบใช้เพศ • Zygospore เกิดจากราสาย • Ascospore จากการรวมตัวของนิวเคลียสเพศ • Basidiospore เกิดจากการรวมตัวของสองนิวเคลียสในเซลล์ปลายสุดของสายรา

  22. ความสำคัญทางการแพทย์ของราความสำคัญทางการแพทย์ของรา • ประโยชน์ เห็ดบางสายพันธ์นำมาเป็นอาหารได้ ราในดินช่วยย่อยซากพืชซากสัตว์ • โทษ ก่อให้เกิดโรคในพืช สัตว์ คน

  23. ราที่ก่อโรคในคนจำแนกเป็น 3 ชนิด • Toxigenic fungi เช่น เห็ดพิษ • Allergenic fungi เช่น Aspergillus ทำให้เกิด Asthma, type 1 hypersensitivity • Invasive fungi

  24. โรคที่เกิดจากเชื้อรา แบ่งตามความลึกของการติดเชื้อ • Superficial mycoses • Cutaneous mycoses • Deep mycoses (Subcutaneous) • Systemic mycoses • Opportunistic mycoses

  25. โรคที่เกิดจากเชื้อรา Superficial mycoses พยาธิสภาพจำกัดเฉพาะบริเวณ ผม ขนและผิวหนังชั้นนอกสุด คือ ชั้นขี้ไคล (stratum corneum) บริเวณที่ ติดเชื้อพบผิวหนังมีสีผิดปกติ เช่น เกลื้อน (Pityriasis versicolor) ซึ่งเกิดจากเชื้อ Malassezia furfur หรือเป็นวงสีน้ำตาลที่เกิดจากเชื้อ Pityrosporum orbiculareเชื้อเป็น budding yeast cells พบ septate hyphae สั้นๆ หรือ yeast หรือ hyphae อย่างเดียว

  26. Superficial mycoses • ราของเส้นผมและขน (Piedra) ทำให้ผมเป็นตุ่มๆ มีขนาดเล็กมากอาจมองไม่เห็นด้วย ตาเปล่า มีสีน้ำตาลหรือดำ ผู้ป่วยไม่มีอาการ • การรักษา ใช้ 20% Sodium thiosulfate ทาเช้าเย็น หรือตัดผมทิ้งและรักษาความสะอาด

  27. Cutaneous mycoses • โรคเชื้อราที่บริเวณผม ขน เล็บ เชื้ออาจลุกลามจากชั้นขี้ไคลไปที่รูขุมขน ผม และโคนเล็บ • เป็นกลุ่ม Dermatophytes เพราะชอบ keratin เช่นกลาก (ring worm) • พบเชื้อในดิน 37 species แต่ทำให้เกิดโรค 10 species

  28. โรคเชื้อราที่ผิวหนัง ขน ผมและเล็บ • Tinea capitis เป็นเชื้อราที่หนังหัวและผม อาการหนังหัวแดง ผมร่วง มีการอักเสบรุนแรง แผลลึก เป็น keloid หัวล้านเป็นหย่อมๆ เกิดจาก genera Microsporum และ Trichophyton • Tinea favosa เป็นเชื้อราที่ผิวหนังและหนังหัว มีลักษณะเฉพาะเป็นก้อนของ mycelium แข็งๆรวมเป็น ขี้ไคลนูนขึ้นมาจากผิวหนังคล้ายถ้วย สีเหลือง มีกลิ่นเหม็น เกิดจาก genera Microsporum และ Trichophyton

  29. โรคเชื้อราที่ผิวหนัง ขน ผมและเล็บ • Tinea coporis เป็นเชื้อราที่ทำให้เป็นกลากบริเวณผิวหนังอ่อน เช่น ราวนม เอว เกิดจาก genera Microsporum และ Trichophyton • Tinea imbricata เป็นเชื้อราที่ทำให้เป็นกลากบริเวณลำตัว มีลักษณะเป็นเกล็ดบางๆ ซ้อนกันหลายๆวงคล้ายลายเสื้อหนุมาน เรียกกลากหนุมาน • Tinea cruris เป็นกลากบริเวณขาหนีบ กลากในร่มผ้า อาจลุกลามไปถึงบริเวณ perinium และรอบๆทวารหนัก เกิดจาก Candida albicans, Epidermophyton floccosum

  30. Ringworm (Tinea Corporis)

  31. โรคเชื้อราที่ผิวหนัง ขน ผมและเล็บ • Tinea ungium เป็นราที่เล็บสามารถลุกลามเข้าไปใต้เล็บทำให้เล็บมีลักษณะขรุขระเป็นขุยสีขาว เกิดจาก Trichophyton rubrum, T. mentogrophytes, Epidermophyton floccosum • Tinea barbae กลากของผิวหนังที่ขึ้นบริเวณคางและหนวด เกิดจาก Trichophyton mentogrophytes, T. verrucosum • Tinea pedis กลากบริเวณเท้าพบบ่อยมากโดยเฉพาะ ผู้ที่ใส่รองเท้าปิด เช่น ทหาร นศ.ปี 1 เกิดจาก T. rubrum, T. mentogrophytes, E. floccosum

  32. Tinea ungium Tinea barbae โรคเชื้อราที่ผิวหนัง ขน ผมและเล็บ

  33. ลักษณะของเล็บที่เป็นเชื้อราลักษณะของเล็บที่เป็นเชื้อรา Nails: • Dystrophy • koilonychias (spoon nails ) • nail pitting

  34. Deep mycoses (Subcutaneous) • พยาธิสภาพ อยู่ที่ผิวหนังและใต้ผิวหนัง บางโรคลุกลามถึงอวัยวะภายใน เช่นกระดูก หลอดเลือดและต่อมน้ำเหลือง เช่น Mycetoma เป็นโรคเชื้อราที่เกิดกับมือ เท้า ขา

  35. Systemic mycoses • เป็นโรคเชื้อราที่เกิดกับอวัยวะภายในตามระบบ ผู้ป่วยมักมีภูมิคุ้มกันเสื่อม ได้แก่ • Histoplasmosis • Penicillosis marneffei เกิดจาก Penicillium marneffei, • Cryptococcosis • Systemic candidiasis • Aspergillosis

  36. Opportunistic mycoses • เป็นเชื้อราที่พบในธรรมชาติ อาศัยในสิ่งไม่มีชีวิตและพืช เมื่ออวัยวะมีบาดแผลราก็สามารถก่อโรคได้ • เชื้อราที่กระจกตา หากมีอาการรุนแรงจะบวมแดงเห็นเส้นเลือดที่ตาชัดเจนพบเป็นแผลขอบนูนขาว โดยที่ Hypha จะแผ่ถึงขอบแผล เกิดจากการหยอดตาที่มี steroid นานๆ • ราที่หูชั้นนอก • เชื้อที่เป็นสาเหตุ ได้แก่ Aspergilusniger, A. fumigatus, Candida, Fusarium spp.

  37. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 1 • Direct examination โดยนำมา smear แล้วย้อมสีพวก AFB, Gram stain, India ink, KOH,Wright stain -KOH ใช้น้ำยา 10-20%ใช้สำหรับตรวจขุยผิวหนัง เล็บ คุณสมบัติของ KOH จะช่วยละลาย Keratin ของสิ่งส่งตรวจ -Lactophenol cotton blue ใช้สำหรับย้อมเชื้อราจากโคโลนี สี cotton blue ย้อม kitin & cellulose จึงติดสีง่ายแก่การตรวจ -India ink ใช้ย้อมหาเชื้อ Cryptococcus neoformansเมื่อนำไปส่องกล้องจะเห็นพื้นสไลด์เป็นสีดำ capsule รอบตัวเชื้อไม่ติดสีเห็นตัวเชื้ออยู่ตรงกลาง

  38. การขูดผิวหนังตรวจหาเชื้อราการขูดผิวหนังตรวจหาเชื้อรา

  39. Candida in Vagina and Cervix

  40. Cryptococcus neoformans

  41. Cryptococcus neoformans

  42. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 2 2. Culture อาหารเลี้ยงเชื้อทางการแพทย์ -Sabouraud Dextrose Agar ใช้เลี้ยงเชื้อราทั่วๆไป -Brain heart Infusion Agar ใช้เลี้ยงราสองรูปจากราสายเป็น yeast บ่มหลอดทดลองที่ 37 °c -Caffeic Acid Agar แยกเชื้อ C. neoformans ให้โคโลนีสีดำ -Corn Meal Agar ใช้ดู Chlamydoconidia ของเชื้อCandida albicans กรณีขาดอาหารจะสะสมอาหารไว้ทำให้คงทน มีลักษณะป่องๆ

  43. Yeast on SA

  44. Mold

  45. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 3 3. การตรวจทางภูมิคุ้มกัน/น้ำเหลืองวิทยา (Serological testing) เช่น Cryptococcal Ag 4. การตรวจชิ้นเนื้อ -PAS stain (Periodic acid schiff stain) -GMS stain (Gomori-Methenamine silver stain) 5. ตรวจทางอณูชีววิทยา (Molecular biology diagnosis) หลักการ nucleic acid amplification or PCR

  46. Bye-Bye

More Related