1 / 62

วิชา SSC 281 : Economics ภาคการศึกษาที่ 2/2553

วิชา SSC 281 : Economics ภาคการศึกษาที่ 2/2553. สายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์. ผู้สอน : ศักดิ์สิทธิ์ วัฒนาเดช. การศึกษา วศบ .( เกียรตินิยม) โยธา , มจธ . วศม . ขนส่ง , มจธ . MSc . Economics and Finance, MU, Germany MA. Economics, UMC, USA

sakura
Télécharger la présentation

วิชา SSC 281 : Economics ภาคการศึกษาที่ 2/2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา SSC 281 : Economicsภาคการศึกษาที่ 2/2553 สายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์

  2. ผู้สอน: ศักดิ์สิทธิ์ วัฒนาเดช การศึกษา • วศบ.(เกียรตินิยม) โยธา, มจธ. • วศม. ขนส่ง, มจธ. • MSc. Economics and Finance, MU, Germany • MA. Economics, UMC, USA • PhD. Economics, UMC, USA (In Progress) ปัจจุบัน • วิศวกรขนส่ง • เศรษฐกรขนส่ง • อาจารย์ (พิเศษ) E-Mail: economania_tan@hotmail.com Mobile: 087-5922002 บริษัท Smart Plan Consultant

  3. SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics) เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) ศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมของหน่วยย่อยใน ระบบเศรษฐกิจ

  4. แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) • เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้าและบริการ การบริโภค การออม การลงทุน ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การใช้จ่ายของรัฐบาล และการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) • เป็นการศึกษาพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจย่อย ได้แก่ ผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ในการแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตนเอง เช่น • -ผู้ผลิตผลิตเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด • -ผู้บริโภค บริโภคเพื่อให้ได้ความ • พึงพอใจสูงสุด • -ใช้กลไกราคาในการศึกษาปฎิ สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค

  5. SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics) • ส่วนที่ 2:เศรษฐศาสตร์มหาภาค • ครั้งที่ 8รายได้ประชาชาติและการคำนวณหารายได้ประชาชาติ • ครั้งที่ 9ส่วนประกอบรายจ่ายประชาชาติมวลรวม • ครั้งที่ 10การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ดุลยภาพ • ครั้งที่ 11ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน • ครั้งที่ 12อุปสงค์ของเงิน อุปทานของเงิน และนโยบายการเงิน • ครั้งที่ 13การคลังสาธารณะ (นำเสนอรายงานกลุ่ม) • ครั้งที่ 14การค้า และการเงินระหว่างประเทศ (นำเสนอรายงานกลุ่ม) • ส่วนที่ 1: เศรษฐศาสตร์จุลภาค • ครั้งที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ • ครั้งที่ 2การกำหนดราคาสินค้าในตลาดโดย Demand และ Supply • ครั้งที่ 3ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน • ครั้งที่ 4ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค • ครั้งที่ 5ทฤษฎีการผลิต • ครั้งที่ 6ต้นทุนการผลิต รายรับจากการผลิต เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด • ครั้งที่ 7ตลาดสินค้าประเภทต่างๆ

  6. วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหาภาค • เข้าใจข้อมูลข่าวสารทางเศรษฐกิจ • อธิบายสถานะการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน และคาดคะเนแนวโน้มของเศรษฐกิจในอนาคตได้ • เข้าใจการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้

  7. ประโยชน์ของการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ประโยชน์ของการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ • ช่วยให้เข้าใจและสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพเศรษฐกิจที่ประสบอยู่ในชีวิตประจำวันได้ • เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ • ช่วยให้เข้าใจบทบาทที่ถูกต้องของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

  8. การวัดผล • สอบกลางภาค 40 เปอร์เซนต์ • สอบปลายภาค 40 เปอร์เซนต์ • เข้าห้องเรียนและทำการบ้าน 5 เปอร์เซนต์ • รายงานกลุ่ม 15 เปอร์เซนต์

  9. เอกสารประกอบการเรียน 1.วัณรักษ์ มิ่งมณีนาคิน; หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2.วัณรักษ์ มิ่งมณีนาคิน; หลักเศรษฐศาสตร์มหาภาค 3.รัตนา สายคณิต, ชลดา จามรกุล; เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 4. รัตนา สายคณิต; มหเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

  10. ทำไมเราจำเป็นต้องรู้จักเศรษฐศาสตร์ ? • 40 ปี น้ำมันจะหมด • 60 ปี ก๊าซธรรมชาติจะหมด • 200 ปี ป่าไม้จะหมด • 15-20 ปี แร่สำคัญต่างๆจะหมด • 50 ปี อาหารทะเลจะหมด • ฯลฯ ความต้องการ ≠ สิ่งที่มี

  11. ความไม่สมดุลย์ระหว่างความต้องการกับสิ่งที่มีความไม่สมดุลย์ระหว่างความต้องการกับสิ่งที่มี

  12. 1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์ • เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่อยู่ในสังคม • ความหมายของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใช้ ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่จำกัด สำหรับการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จำกัดของมนุษย์

  13. 1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์(ต่อ)1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์(ต่อ) • จากนิยามของเศรษฐศาสตร์มีคำที่ควรให้ความสนใจ 5 คำคือ • -การเลือก(choices) • -ปัจจัยการผลิต(Productive Factors) • -การมีอยู่อย่างจำกัด(Scarcity) • -สินค้าและบริการ(Goods and Services) • -ความต้องการที่ไม่สิ้นสุด(Unlimited Wants)

  14. การเลือก(Choices) • เกิดขึ้นเนื่องจากทรัพยากรต่างๆสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทางเราจึงต้องเลือกใช้ทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือให้ได้ ความพอใจมากที่สุด

  15. ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) • ที่ดิน (Land) ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า (Rent) • แรงงาน (Labor) หรือ ทรัพยากรมนุษย์(human resource) ผลตอบแทน คือ ค่าจ้าง(Wage) • ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ผลตอบแทนคือ กำไร(Profit) • ทุน (Capitals) ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย (interest)

  16. ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) เซลแมน พนักงานพิมพ์ดีด แรงงาน? กรรมกร หมอ

  17. ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ทุน

  18. ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิต (ทุนนิยม) แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร อย่างไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ ให้ใคร ผลผลิต ผู้บริโภค

  19. การมีอย่างจำกัด (Scarcity) ทรัพยากรในโลกล้วนมีอยู่อย่างจำกัด เลือกผลิตสิ่งที่มีประโยชน์ที่สุดต่อสังคม ด้วย วิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด

  20. สินค้าและบริการ (Goods and Services) • ทรัพย์เสรี (Free Goods) • สินค้าและบริการหรือสิ่งที่มีจำนวน • มากมายตามธรรมชาติเกินกว่าความ • ต้องการมนุษย์ จึงไม่ต้องจัดสรร ดังนั้น • จึงไม่มีราคา • เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) สินค้าและบริการที่ก่อให้เกิด อรรถประโยชน์(utility)หรือความพอใจ แก่ผู้บริโภค มีจำนวนจำกัด และมีต้นทุน การในผลิตและในการจัดหา ดังนั้นจึงมี ราคา เศรษฐทรัพย์แบ่งเป็น 2 ชนิด • สินค้าเอกชน (Private Goods) • สินค้าสาธารณะ (Public Goods)

  21. สินค้าและบริการ (Goods and Service) (ต่อ) 2.ฝน 1.บริการของหมอ 3.เครื่องบินรบ 5.คอมพิวเตอร์ 4.ดอกไม้

  22. ความต้องการไม่จำกัด (UnlimitedWants) • ความต้องการด้านวัตถุ (Material Wants) • ความต้องการด้านจิตใจ (Mental Wants) เศรษฐศาสตร์สนใจ ส่วนที่เป็นความต้องการ ด้านวัตถุ

  23. ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ(Basic Economic Problems) • ปัญหาจะผลิตอะไร (What) • ปัญหาจะผลิตอย่างไร (How) • ปัญหาผลิตเพื่อใคร (For Whom)

  24. ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิต (ทุนนิยม) แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร อย่างไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ ให้ใคร ผลผลิต ผู้บริโภค

  25. ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ต่อ) ในมุมมองของเศรษฐกิจในภาพรวม (มุมมองของประเทศหรือระบบเศรษฐกิจทั้ง ระบบ) วิธีการและใครจะเป็นผู้แก้ไขปัญหาพื้นฐานทั้ง 3 จะขึ้นอยู่กับระบบเศรษฐกิจที่ ประเทศนั้นเลือกใช้

  26. ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐาน(Economic System and Solotion) • ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) • ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) • ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

  27. ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐานระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐาน • ทุนนิยมมองผู้ประกอบการเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญที่สุด และเป็นหัวใจของความเจริญก้าวหน้าของประเทศ • สังคมนิยม (เศรษฐกิจแบบวางแผน) มองผู้ประกอบการเป็นสิ่งที่เลวร้าย เป็นสาเหตุของความเลื่อมล้ำและสมควร ถูกกำจัด แต่มองแรงงานเป็นปัจจัย การผลิตที่สำคัญที่สุด

  28. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ลักษณะที่สำคัญ • เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต • เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามใจชอบ • รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกันประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย

  29. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของระบบทุนนิยม • ข้อดี • กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา • การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ • ข้อเสีย • เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ • เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้

  30. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา: ผู้ประกอบการแข่งขันกันค้นคว้าเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการผลิตเพื่อลดต้นทุน สร้างสรรค์ผลงานได้ตามใจผู้บริโภค

  31. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา รถของโซเวียต รถของเยอรมันนี

  32. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ เช่น • เลือกผลิตในสิ่งที่มีคนต้องการ (เพราะสินค้านั้นจะมีราคาสูง) • เลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่มีราคาต่ำ (ต้นทุนจะได้ต่ำ)

  33. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อเสีย เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ • เลือกผลิตในสิ่งที่มีราคาสูงเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด

  34. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อเสีย • เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้

  35. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อเสีย ไม่ใส่ใจผลกระทบต่อสังคม เลือกผลิตแต่สิ่งที่มีราคาสูง (ไม่สนใจว่าการผลิตสิ่งนั้นจะ ก่อผลเสียอย่างไร) และไม่คิดที่จะลดผลกระทบนั้น (เพราะจะทำให้ต้นทุนสูงขึ้น)

  36. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) • เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต • เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามใจชอบ • รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกันประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย

  37. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ โดยเสรี (ใช้กลไกราคา) อย่างไร ผลผลิต ให้ใคร ประชาชนเลือกที่จะทำอะไรก็ได้โดยเสรี ถ้าเป็นแรงงาน ก็เลือกงานตามความถนัดและความชอบของตน ถ้าเป็นผู้ประกอบการ ก็ตัดสินใจได้อย่างอิสระ ผู้บริโภค

  38. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ใช้กลไกราคา (หรือกลไกตลาด) ในการตัดสินใจ ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง บริษัท 5 บริษัท 1 ราคา บริษัท 4 บริษัท 2 บริษัท 3 ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง

  39. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy)

  40. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) ลักษณะที่สำคัญ (ตรงข้ามทุนนิยม) • เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต • เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • รัฐบาลกลางเป็นผู้วางแผน และดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง

  41. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) • ข้อดี • มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้ • ข้อเสีย • ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน • ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ

  42. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อดี มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ: ทุกอย่างเป็นไปตามนโยบายของรัฐ

  43. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อดี ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้: ไม่มีชนชั้น ทุกคนเป็น แรงงาน ได้รับผลตอบแทนเท่ากัน

  44. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน

  45. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน:คนทำงานไปวันๆ ไม่มี สิ่งจูงใจให้คิดค้นอะไรใหม่ๆ เทคโนโลยีของเสรีนิยม เทคโนโลยีของสังคมนิยม

  46. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ • มักผลิตในสิ่งคนไม่ต้องการ แต่สิ่งที่คนต้องการไม่ผลิต • ใช้เทคโนโลยีแบบเก่า ไม่มีประสิทธิภาพในการผลิต

  47. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย มีการคอรัปชั่นของรัฐบาลกลางเพราะขาดกระบวนการในการตรวจสอบ

  48. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) • เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต • เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

  49. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ผลิตอะไร สำนักงานวางแผน (พรรคคอมมิวนิส) ตัดสินใจ ตัดสินใจ ปัจจัยการผลิต อย่างไร คำสั่ง ให้ใคร ผลผลิต คำสั่ง ข้อมูล คำสั่ง ผู้บริโภค ประชาชนไม่มีสิทธิเลือกที่จะเป็น ทุกอย่างถูกกำหนดจากส่วนกลาง มีอยู่ชนชั้นเดียว คือ กรรมกร (แรงงาน) ผู้ประกอบการหรือนายทุนเป็นสิ่งเลวร้าย

  50. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) กลไกของเศรษฐกิจแบบวางแผน ข้อมูล สำนักงานวางแผน ข้อมูล คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง หน่วยผลิต 1 คำสั่ง หน่วยผลิต 5 หน่วยผลิต 2 หน่วยผลิต 3 หน่วยผลิต 4

More Related