1 / 41

คลิ๊กNext

โครงการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาล ปีใหม่ พ.ศ. 2546. คลิ๊กNext. สรุปจำนวนแบบสอบถาม. 1. แบบสอบถามประชาชน จำนวน 2,384 ชุด

Télécharger la présentation

คลิ๊กNext

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาล ปีใหม่ พ.ศ. 2546 คลิ๊กNext

  2. สรุปจำนวนแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามประชาชน จำนวน 2,384 ชุด 2. แบบสอบถามเจ้าหน้าที่ จำนวน 614 ชุด 3. แบบสอบถามเจ้าของกิจการปั๊มน้ำมัน จำนวน 401 ชุด 4. แบบสอบถามสื่อมวลชน จำนวน 69 ชุด รวม จำนวน 3,468 ชุด คลิ๊กNext

  3. ความเห็นเกี่ยวกับการรับรู้ข่าวสาร ด้านมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 ของรัฐบาล ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 122 (5.12) 2,262 (94.88) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) N=401 11 (2.74) 390 (97.26) ความเห็น/ประเภทสื่อ ไม่ทราบ ทราบ ทางสื่อประเภท 1. โทรทัศน์1,666 257 (69.88) (64.09) 2. วิทยุ 782 152 (32.80) (37.91) คลิ๊กNext

  4. ความเห็นเกี่ยวกับการรับรู้ข่าวสาร ด้านมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 ของรัฐบาล ประชาชน (ร้อยละ) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) ประเภทสื่อ 3. หนังสือพิมพ์ 985 140 (4.32) (34.91) 4. โปสเตอร์ 668 150 (28.02) (37.41) 5. เอกสารเผยแพร่ 363 122 (15.23) (30.42) 6. หอกระจายข่าว 311 - (13.05) คลิ๊กNext

  5. ความเห็นเกี่ยวกับการรับรู้ข่าวสาร ด้านมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 ของรัฐบาล ประชาชน (ร้อยละ) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) ประเภทสื่อ 7. สมาชิกในครัวเรือน/ญาติ 303 - (12.71) 8. กำนัน /ผู้ใหญ่บ้าน /อบต. 234 - (9.81) คลิ๊กNext

  6. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานตามมาตรการฯ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐในช่วงเทศกาลปีใหม่ ระดับความพึงพอใจ N= 2,384 ประเภทความพึงพอใจ มาก ปานกลาง น้อย รวม (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 773 1,485 126 2,384 (32.42) (62.29) (5.29) (100.00) 1. ความสะดวกสบายในการใช้เส้นทาง อำนวยความสะดวก 2. รถบรรทุกหรือรถรับจ้างบนเส้นทางลดลงช่วงปีใหม่ 3. ความถี่ในการตั้งด่านตรวจของเจ้าหน้าที่จากทางราชการและภาคเอกชน 4. ความปลอดภัยในทรัพย์สินของ ประชาชน 664 1,268 452 2,384 (27.85) (53.19) (18.96) (100.00) 655 1,369 360 2,384 (27.47) (57.43) (15.10) (100.00) 542 1,500 342 2,384 (22.73) (62.92) (14.35) (100.00) คลิ๊กNext

  7. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานตามมาตรการฯ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐในช่วงเทศกาลปีใหม่ ระดับความพึงพอใจ N= 2,384 ประเภทความพึงพอใจ มาก ปานกลาง น้อย รวม (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 533 1,520 331 2,384 (22.36) (63.76) (13.88) (100.00) 5. ความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนที่ใช้ถนน 6. การประหยัดเวลาในการเดินทางสัญจร 501 1,552 331 2,384 (21.02) (65.10) (13.88) (100.00) คลิ๊กNext

  8. ความเห็นของผู้ประกอบกิจการปั๊มน้ำมันเกี่ยวกับมาตรการงดจำหน่ายสุราในช่วงเทศกาลปีใหม่ความเห็นของผู้ประกอบกิจการปั๊มน้ำมันเกี่ยวกับมาตรการงดจำหน่ายสุราในช่วงเทศกาลปีใหม่ ความเห็น จำนวน ร้อยละ 234 58.35 พอใจ 1. ยอดจำหน่ายสินค้าอื่นๆสูงขึ้น เช่น เครื่องดื่ม น้ำดื่ม เป็นต้น 2. ช่วยลดปัญหาการจราจรและช่วยลดอุบัติเหตุ 3. คนใช้รถในการเดินทางเพิ่มมากขึ้น 4. ไม่มีผลกระทบเพราะยอดจำหน่ายน้ำมันเพิ่มขึ้น 5. เป็นมาตรการที่ดีและได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามมาตรการปีใหม่ 105 26.18 94 23.44 18 4.49 17 4.24 5 1.25 คลิ๊กNext

  9. ความเห็นของผู้ประกอบกิจการปั๊มน้ำมันเกี่ยวกับมาตรการงดจำหน่ายสุราในช่วงเทศกาลปีใหม่ความเห็นของผู้ประกอบกิจการปั๊มน้ำมันเกี่ยวกับมาตรการงดจำหน่ายสุราในช่วงเทศกาลปีใหม่ ความเห็น จำนวน ร้อยละ 167 41.65 ไม่พอใจ 1. ยอดจำหน่ายสินค้าลดลง 2. ควรให้งดขายทั้งหมด 3. ลูกค้าไม่พอใจ ไม่ได้เดินทาง ไม่ได้เป็นคนขับ และซื้อไปทานที่บ้าน 4. แก้ปัญหาไม่ตรงจุด (แก้ปลายเหตุ) 5. น่าจะมีการตั้งจุดตรวจให้มากขึ้น ดีกว่าห้ามปั๊มขายสุรา 6. ระยะเวลาของการรณรงค์นานเกินไปควรให้ขายได้เฉพาะวันที่ 31 - 1 มค. 135 33.67 41 10.22 27 6.73 14 3.49 8 2.00 4 1.00 คลิ๊กNext

  10. แสดงการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานตามมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2546 รวม (ร้อยละ)N=2,998 2,452 (81.79) 2,160 (72.05) 1,993 (66.48) 1,716(57.24) ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 1,936 (81.21) 1,686(70.72) 1,522 (63.84) 1,373(57.59) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)N=614 516 (84.04) 474 (77.20) 471(76.71) 343(55.86) การมีส่วนร่วม 1. หลีกเลี่ยงการดื่มสุราและสิ่งมึนเมาทุกชนิดขณะขับรถ ตามมาตรการเมาไม่ขับ 2. ปฏิบัติตามข้อกฎหมายจราจรเมื่อถึงป้ายเตือนภัยอย่างเคร่งครัด 3. คาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ 4. สวมหมวกนิรภัยขณะขับรถจักรยานยนต์ คลิ๊กNext

  11. แสดงการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานตามมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ.2546 รวม (ร้อยละ) 1,116(37.22) 722 (24.08) 662 (22.08) ประชาชน (ร้อยละ) 756 (31.71) 321 (13.46) 284 (11.91) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 360 (58.63) 401(65.31) 378 (61.56) การมีส่วนร่วม 5.ได้มีการเผยแพร่มาตรการปลอดภัยให้ผู้ใกล้ชิดทราบ 6. ร่วมเป็นเจ้าหน้าที่ตรวจอุบัติภัยตามจุดตรวจความปลอดภัย 7. เป็นผู้รายงานสถานการณ์อุบัติภัยจราจรทางบกให้ผู้บังคับบัญชาทราบเป็นระยะ ๆ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ (ระหว่างวันที่ 27 ธัวาคม 2545 ถึงวันที่ 2 มกราคม 2545) คลิ๊กNext

  12. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ. (ร้อยละ)N=281 ตร. (ร้อยละ)N=125 สธ. (ร้อยละ )N=79 ทล./ทช. (ร้อยละ)N=44 ปัญหา 1. ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานภายในหน่วยงาน 222 19 14 25 (79.00) (15.20) (17.72) (56.82) 1.1 เครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานไม่พร้อม เช่น ขาด Fax เครื่องถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ คลิ๊กNext

  13. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ปัญหา 1.2 ขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน 1.3 ขาดงบประมาณสำหรับค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลา 1.4 ขาดแคลนยานพาหนะ และน้ำมันเชื้อเพลิง (สภาพยานพาหนะใช้งานได้ไม่เต็มที่) 120 59 16 29 (42.70) (47.20) (20.25) (65.91) 149 40 14 11 (53.02) (32.00) (17.72) (25.00) 79 64 9 12 (28.11) (51.20) (11.39) (27.27) คลิ๊กNext

  14. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ปัญหา 1.5 ขาดการดูแลสนับสนุนจากผู้บริหารโดยมอบหมายให้ทำงานและตัดสินใจโดยลำพัง 75 40 8 16 (26.69) (32.00) (10.13) (36.36) คลิ๊กNext

  15. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ร้อยละN=281 ปภ.จำนวน ปัญหา 2. ปัญหาเกี่ยวกับการประสานงาน 112 39.86 2.1 การประสานข้อมูลกับหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ล่าช้าไม่ค่อยได้รับความร่วมมือเพราะยังไม่มีตำแหน่งในจังหวัดเป็นเพียงผู้แทนเท่านั้นทำให้ไม่ได้รับรายงานตามเวลาที่กำหนด คลิ๊กNext

  16. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ร้อยละN=281 ปภ.จำนวน ปัญหา 2.2 ขาดเครื่องแต่งกายที่มีแถบสะท้อนแสงในการปฏิบัติ งานตอนกลางคืน 2.3 ไม่มีกฎหมายรองรับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน เมื่อเกิดอุบัติเหตุ (เจ้าภาพคือตำรวจ) 143 50.89 93 33.10 คลิ๊กNext

  17. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ.จำนวน ร้อยละN=281 ปัญหา 2.4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่รู้จักกรมป้องกันฯ ทำให้การประสานงานไม่ได้รับการยอมรับเท่าที่ควร 2.5 การปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของกรมป้องกันฯ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายมีผลกระทบต่อการได้รับผลประโยชน์ หรือธุรกิจนอกระบบของเจ้าหน้าที่บางรายในบางหน่วยงาน 78 27.76 13 4.63 คลิ๊กNext

  18. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ปัญหา 3. ปัญหาเกี่ยวประชาชน 182 79 56 28 (64.77) (63.20) (70.89) (63.96) 3.1 ผู้ขับขี่จักรยานยนต์ ขับขี่ด้วยความประมาทและใช้ความเร็วสูง 3.2 ประชาชนไม่เข้าใจว่าทำไมต้องมีการตั้งจุดตรวจ 3.3 ประชาชนไม่พอใจการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จุดตรวจ เพราะทำให้รถติดนาน 132 54 24 16(46.97) (43.20) (30.38) (36.36) 116 74 28 21 (41.28) (59.20) (35.44) (47.73) คลิ๊กNext

  19. สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่สรุปปัญหาของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ปัญหา 3.4 ไม่มีเจ้าหน้าที่ออกไปประชาสัมพันธ์ช่วงรถติด ณ จุดตรวจเป็นเวลานาน 93 25 23 9 (33.10) (20.00) (29.11) (20.45) คลิ๊กNext

  20. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ)N=281 ตร. (ร้อยละ)N=125 สธ. (ร้อยละ )N=79 ทล./ทช. (ร้อยละ)N=44 ข้อเสนอแนะ 1. ด้านการบริหารงานและการประสานงาน 1.1 ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีแผนงานที่ชัดเจน เชื่อมโยงทุกหน่วยงาน 1.2 จัดหาอุปกรณ์สื่อสารให้ทันสมัย 229 80 54 33 (81.49) (64.00) (68.35) (75.00) 238 49 43 24 (84.70) (39.20) (54.43) (54.54) คลิ๊กNext

  21. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 1.3 ตั้งงบประมาณให้ชัดเจนในการจัดทำโครงการ มีเงินสนับสนุนแน่นอน และจัดสรรเบี้ยเลี้ยงในการไปปฏิบัติงานให้ทันเวลา 1.4 อำนวยความสะดวกด้วย ยานพาหนะ พร้อมน้ำมันเชื้อ เพลิงในการไปร่วมปฏิบัติงาน กับหน่วยงานอื่นรวมทั้งอุปกรณ์ ที่ใช้ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย 185 56 41 17 (65.84) (44.80) (51.90) (38.64) 159 70 42 19 (56.58) (56.00) (53.16) (43.18) คลิ๊กNext

  22. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 1.5 ควรมีชุดฟอร์มการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ของกรมป้องกันฯ และมีแถบสะท้อนแสง 1.6 ควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการบรรเทาสาธารณภัยเบื้องต้น และการใช้อุปกรณ์กู้ภัยและมีการซ้อมร่วมกับเครือข่ายเช่น มูลนิธิต่าง ๆ และ อปพร 143 - - - (50.89) 130 - - - (46.26) คลิ๊กNext

  23. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 78 - - - (27.76) 1.7 ควรจัดให้มีการฝึกอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์เครื่องมือสื่อสารแก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 1.8 ควรมีเครื่องดื่ม (กาแฟ น้ำ ผ้าเย็น ผ้าอุ่น)ไว้บริการ ณ จุดตรวจ 1.9 ควรตั้งจุดบริการ ให้คำแนะนำบริเวณที่เป็นจุดพักรถหรือที่มีรถจอดจำนวนมาก เช่น ร้านอาหาร ปั๊มน้ำมัน 13 - - - (4.63) 7 - - - (2.49) คลิ๊กNext

  24. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ)N=281 ตร. (ร้อยละ)N=125 สธ. (ร้อยละ )N=79 ทล./ทช. (ร้อยละ)N=44 ข้อเสนอแนะ 2. ด้านกฎหมาย 2.1 เพิ่มโทษผู้ฝ่าฝืนกฎจราจร 2.2ควบคุมและเข้มงวดการ ตรวจสภาพรถยนต์ทุกประเภท 2.3 เข้มงวดในการออก ใบอนุญาตขับขี่ทุกประเภท 183 79 60 3 (65.12) (63.20) (75.95) (77.27) 172 78 55 24 (61.21) (62.40) (69.62) (54.54) 158 75 47 17 (56.23) (60.00) (59.49) (38.64) คลิ๊กNext

  25. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 11 - - - (3.91) 2.4 ควรทดสอบทักษะ และสภาพร่างกายกำหนดอายุของผู้ใช้ยานพาหนะทุกประเภท 3. ด้านการการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 3.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบจราจรในการศึกษาทุกระดับ ทั้งในระบบ และนอกระบบโรงเรียน 236 106 67 37 (83.98) (84.80) (84.81) (84.09) คลิ๊กNext

  26. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 3.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎ ระเบียบจราจรในหลักสูตรฝึกอบรมข้าราชการทุกระดับรวมทั้งหลักสูตรในภาคเอกชน 3.3 ข้าราชการควรปฏิบัติให้ เป็นตัวอย่างแก่ประชาชน 191 82 53 25 (67.97) (65.60) (67.09) (56.82) 14 - - - (4.98) คลิ๊กNext

  27. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน รวม (ร้อยละ) ปภ. (ร้อยละ) ตร. (ร้อยละ) สธ. (ร้อยละ ) ทล./ทช. (ร้อยละ) ข้อเสนอแนะ 4 ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 557 255 112 73 42 (90.72) (90.75) (89.60) (92.40) (95.45) 4.1จัดให้มีการรณรงค์ เป็น แผนตลอดปีและเผยแพร่ทาง สื่อมวลชนทุกประเภท 4.2 ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเป็นระยะ ๆ ในช่วงที่มีการตั้งด่านตรวจ 4.3 จัดนิทรรศการในโอกาสวันสำคัญ 361 175 63 56 20 (58.79) (62.28) (50.40) (70.89) (45.45) 316 169 59 38 13 (51.46) (60.14) (47.20) (48.10) (29.54) คลิ๊กNext

  28. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ไม่ลดลงตามเป้าหมาย รวม (ร้อยละ)N=3,468 986(28.43) ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 596 (25.00) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)N=614 220(35.83) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ)N=401 136 (33.92) สื่อมวลชน (ร้อยละ)N=69 34 (49.28) ความเห็น ไม่ลดลงตามเป้าหมาย 1.ไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ มาตรการเมาไม่ขับ รณรงค์การสวมหมวกนิรภัย คาดเข็มขัดนิรภัยเป็นการแก้ที่ปลายเหตุ และเฉพาะช่วงเทศกาล เท่านั้นไม่ต่อเนื่องตลอดปี คลิ๊กNext

  29. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ไม่ลดลงตามเป้าหมาย รวม (ร้อยละ) 826 (23.82) 746(21.51) ประชาชน (ร้อยละ) 470(19.71) 473(19.84) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 160(26.06) 193(31.43) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 177 (44.14) 80 (19.95) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 19 (27.54) - ความเห็น 2. การเข้มงวดงดการขายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เป็นมาตรการเฉพาะที่ปั๊มน้ำมันไม่ได้ครอบคลุมสถานที่อื่นๆด้วย 3. กลุ่มชาวชนบทที่ฝ่าฝืนมาตรการเมาไม่ขับ พบว่ามีพฤติกรรมเลี้ยงฉลองช่วงเทศกาล โดยเดินทางมาร่วมสังสรรค์นอกบ้าน แล้วเดินทางกลับ ในวันเดียวกัน คลิ๊กNext

  30. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ไม่ลดลงตามเป้าหมาย รวม (ร้อยละ) 628(18.11) 629(18.14) ประชาชน (ร้อยละ) 377(15.81) 357(14.97) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 138(22.48) 150(24.43) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 100 (24.94) 88 (21.95) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 13 (18.84) 34 (44.28) ความเห็น 4. การแข่งขันโฆษณายี่ห้อเหล้า เบียร์ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ มีการส่งเสริมการขายที่เข้มข้น มีส่วนจูงใจให้เกิดการบริโภคเพิ่มขึ้น ทำให้การเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นตามไปด้วย 5. การตั้งด่านจะเข้มงวดเฉพาะถนนสายหลัก ไม่เข้มงวดถนนสายรอง คลิ๊กNext

  31. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ไม่ลดลงตามเป้าหมาย รวม (ร้อยละ) 411(11.85) 467(13.47) ประชาชน (ร้อยละ) 251(10.53) 279(11.70) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 94 (15.31) 110(17.92) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 50 (12.47) 59 (14.71) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 16 (23.19) 19 (27.54) ความเห็น 6. วัฒนธรรมการบริโภคที่มาจากการโฆษณาน้ำมันเครื่อง รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่มุ่งเน้นภาพการใช้ความเร็วทำให้ผู้ขับขี่เกิดความเคยชิน 7. มีการละเว้นหรือเลือกปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย คลิ๊กNext

  32. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ลดลง รวม (ร้อยละ)N=3,468 1,971(56.83) ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 1,294(54.28) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)N=614 383(62.38) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ)N=401 250 (62.34) สื่อมวลชน (ร้อยละ)N=69 44 (63.77) ความเห็น ลดลง 1. การใช้มาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจรช่วงเทศกาลปีใหม่เป็นเรื่องที่ดี เพราะประชาชนรู้ว่ารัฐบาลมีความห่วงใยต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินประชาชน จึงมีการเข้มงวดมากขึ้น คลิ๊กNext

  33. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ลดลง รวม (ร้อยละ) 1,358(39.16) 1,182(34.08) 1,012(29.18) ประชาชน (ร้อยละ) 884(37.08) 655(27.47) 674(28.27) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 279(45.44) 332(54.07) 194(31.60) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 173 (43.14) 160(39.90) 120 (29.93) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 22(31.88) 35(50.72) 24(34.78) ความเห็น 2. ความเข้มงวดในการตรวจสารแอลกอฮอล์/ตรวจปัสสาวะของเจ้าหน้าที่ 3. การผนึกกำลังระหว่างเจ้าหน้าที่ของภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจนอาสาสมัครตั้งด่านตรวจความปลอดภัย 4. ความเข้มงวดในการตรวจสอบใบขับขี่/ใบ พรบ. ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ คลิ๊กNext

  34. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ลดลง รวม (ร้อยละ) 1,050(30.30) 912(26.30) ประชาชน (ร้อยละ) 657(27.56) 554(23.24) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 282(45.93) 245(39.90) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 90 (22.44) 88 (21.95) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 21 (30.43) 25 (36.23) ความเห็น 5. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุจากการจราจร ในช่วงเทศกาลผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้ประชาชนรับทราบทางสถานีโทรทัศน์และสื่อหนังสือพิมพ์ทุกวัน 6. การประสานงานของเจ้าหน้าที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกับคณะทำงานที่เกี่ยวข้องดังนี้ คลิ๊กNext

  35. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ลดลง รวม (ร้อยละ) 755(21.77) 600(17.30) 585(16.87) ประชาชน (ร้อยละ) 494(20.72) 410(17.20) 372(15.60) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 193(31.43) 149 (24.27) 170(27.69) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 64 (15.96 37 (9.23) 35 (8.73) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 4 (5.80) 4 (5.80) 8 (11.59) ความเห็น 6.1 แนะนำเส้นทางการเดินทางต่อไปใน จังหวัดต่างๆช่วงเทศกาล 6.2นำผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุส่งโรงพยาบาลโดยรวดเร็ว 6.3 จัดหารถยก/ลากจูงรถผู้ประสบอุบัติเหตุแยกส่งโรงพยาบาลและสถานีตำรวจดำเนินการต่อไป คลิ๊กNext

  36. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การเกิดอุบัติเหตุจราจรในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2546 ลดลง รวม (ร้อยละ) 614(17.70) ประชาชน (ร้อยละ) 395(16.57) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 145(23.62) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 59 (14.71) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 15 (21.74) ความเห็น 7. ความเข้มงวดในการตรวจสภาพรถของเจ้าหน้าที่กรมการขนส่ง คลิ๊กNext

  37. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจรความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจร รวม (ร้อยละ) 1,616(46.60) ประชาชน (ร้อยละ) 955(40.06) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 374(60.91) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 250 (62.34) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 37 (53.62) ความเห็น 1. รัฐบาลต้องทำเรื่องนี้ให้เป็นวาระแห่งชาติ ที่จะต้องกำหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ระดมการมี ส่วนร่วมจากทุกฝ่าย และต้องปลูกฝังเรื่องนี้ให้อยู่ในจิตสำนึกตั้งแต่เด็กและเยาวชน เป็นต้น คลิ๊กNext

  38. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจรความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจร รวม (ร้อยละ)N=3,468 2,713(78.23) ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 1,815(76.13) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)N=614 531 (86.48) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ)N=401 314 (78.30) สื่อมวลชน (ร้อยละ)N=69 53 (76.81) ความเห็น 2. ต้องแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ทุกฝ่ายจทั้งภาครัฐ องค์กรเอกชนและประชาชน ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและกระทำอย่างต่อเนื่อง จริงจัง คลิ๊กNext

  39. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจรความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจร ความเห็น 3. ปรับปรุงกฎหมายในการใช้รถและการใช้ความเร็วให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดทั่วถึงไม่มีการยกเว้นผู้ใดทั้งสิ้น รวม (ร้อยละ)N=3,468 1,880(54.21) ประชาชน (ร้อยละ)N=2,384 1,137(47.69) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)N=614 472 (76.87) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ)N=401 221 (55.11) สื่อมวลชน (ร้อยละ)N=69 50 (72.46) คลิ๊กNext

  40. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจรความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจร รวม (ร้อยละ) 1,579 (46.05) 1,480 (42.68) ประชาชน (ร้อยละ) 1,034 (43.37) 1,070 (44.88) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 316 (51.47) 266 (43.32) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 203 (50.62) 126 (31.42) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 44 (63.77) 18 (26.09) ความเห็น 4. การปรับปรุงถนน และจุดอันตรายตามหลักวิศวกรรมจราจร โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการชี้จุด 5. เข้มงวดในการตรวจจับหลังปิดสถานบริการแล้ว หรือมีการตั้งด่านเพิ่มขึ้นในบริเวณพื้นที่ที่มีสถานบริการตั้งอยู่จำนวนมาก คลิ๊กNext

  41. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจรความเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะมาตรการเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจราจร รวม (ร้อยละ) 1,463 (42.19) 778 (22.43) ประชาชน (ร้อยละ) 1,041 (43.67) 539 (22.61) เจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) 246 (40.07) 145 (23.62) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ) 161 (40.15) 80 (19.95) สื่อมวลชน (ร้อยละ) 15 (21.74) 14 (20.29) ความเห็น 6. ควบคุมการโฆษณาเหล้า เบียร์ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้น ให้อยู่ในขอบเขตมากกว่านี้ 7. เก็บภาษีเหล้า เบียร์ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้น ให้เกิดข้อจำกัดทางการเงินเพื่อลดปริมาณการดื่มลง คลิ๊กNext

More Related