1 / 38

204105 Computer Programming I

204105 Computer Programming I. CompScCMU. การวัดผล. สอบกลางเทอม 40% เนื้อหาหัวข้อ 1+2+3+4 จันทร์ ที่ 28 กรกฎาคม 2546 เวลา 12 :00-15:00 น. สอบปลายเทอม 40% เนื้อหาหัวข้อ 5+6+7+8+9+10 ศุกร์ ที่ 26 กันยายน 2546 เวลา 8 :00-11:00 น. ปฏิบัติการ 20%. เนื้อหา.

scout
Télécharger la présentation

204105 Computer Programming I

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 204105Computer Programming I CompScCMU

  2. การวัดผล • สอบกลางเทอม 40% เนื้อหาหัวข้อ 1+2+3+4 จันทร์ ที่ 28 กรกฎาคม 2546 เวลา 12:00-15:00 น. • สอบปลายเทอม 40% เนื้อหาหัวข้อ 5+6+7+8+9+10 ศุกร์ ที่ 26 กันยายน 2546 เวลา 8:00-11:00 น. • ปฏิบัติการ 20%

  3. เนื้อหา 1. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 2. การสื่อสารข้อมูล 3. การพัฒนาโปรแกรม และ การออกแบบอัลกอริทึม 4. ส่วนประกอบของภาษาโปรแกรม 5. ประโยคคำสั่งควบคุม 6. โปรแกรมย่อยฟังก์ชัน (Function) 7. ตัวบ่งชี้(Pointer) 8. ตัวแปรชุด (Arrays) 9. ข้อมูลแบบโครงสร้าง (struct) 10. การประมวลผลแฟ้มข้อมูล

  4. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผลระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) • การประมวลผลข้อมูล (Data processing) • ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) • การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) • วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล • ประเภทของการประมวลผล • การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ • ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง • การแทนอักขระ • การแทนจำนวนเลข

  5. คอมพิวเตอร์คืออะไร? หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องที่มีความสามารถดำเนินกรรมวิธีหรือประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ โดยอาศัยส่วนประกอบต่างๆ ร่วมกันทำงาน สามารถป้อนโปรแกรม(ชุดคำสั่ง) บันทึกข้อมูล คำนวณและจัดการข้อมูลแบบอักขระได้

  6. ลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ 1) ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และอัตโนมัติ 2) มีความเร็วสูงในการประมวลผล 3) มีหน่วยความจำภายในขนาดใหญ่ 4) ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ

  7. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware: H/W) • ซอฟต์แวร์ (Software: S/W) • บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware:P/W)

  8. ฮาร์ดแวร์ (Hardware: H/W) ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ี่ประกอบเข้าเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งตามหน้าที่การทำงานได้เป็น 4 หน่วย ดังนี้ 1)หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2)หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) 3)หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage Unit) • หน่วยความจำหลัก (Main Memory) • หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage) 4)หน่วยแสดงผล (Output Unit)

  9. หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) หน้าที่ รับข้อมูลจากภายนอกโดยผ่านอุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ดังกล่าวเรียกว่า Input device

  10. ความสัมพันธ์ Input unit Main memory

  11. อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า (Input device) • แป้นพิมพ์ (Keyboard) • เอ็มไอซีอาร์ หรือ เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (Magnetic Ink Character Reader: MICR) • โอซีอาร์ หรือ เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง • (Optical Character Reader: OCR)

  12. อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(Input device) • สแกนเนอร์ (Scanner)

  13. อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(Input device) • เครื่องอ่านบัตรเจาะรู (Card reader) • เครื่องอ่านแผ่นซีดี (CDROM drive) • เครื่องอ่านเทปกระดาษ • Voice recognizer • ฯลฯ

  14. หน่วยแสดงผลข้อมูล(Output unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แสดงออกมาภายนอกในรูปแบบ และลักษณะต่างๆ หน่วยแสดงผลข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ • หน่วยแสดงผลแบบ Softcopy คือการแสดงผลแล้วลบหายไป • หน่วยแสดงผลแบบ Hardcopy คือการแสดงผลที่สามารถเก็บผลนั้นไว้ใช้ภายหลังได้ เช่น การพิมพ์เป็นรายงานหรือเก็บไว้เป็นหลักฐานด้วยเครื่องพิมพ์ (Printer)

  15. ความสัมพันธ์ Main memory Output unit

  16. อุปกรณ์ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล (Output devices) • จอภาพแสดงผล CRT, VDO, TERMINAL, MONITOR • เครื่องพิมพ์ (Printer) • Impact printer : Dot matrix, Line printer • Non- impact printer : Thermal printer, Page printer, Laser printer • เครื่องวาด (Plotter), ลำโพง (Speaker) หรือ Voice synthesizer

  17. อุปกรณ์ทำหน้าที่รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output devices) • เครื่องอ่านและบันทึกลงดิสค์(Disk drive) • เครื่องอ่าน/บันทึกดิสเกตต์(Diskette drive) • เครื่องอ่านหรือบันทึกเทปแม่เหล็ก(Tape drive)

  18. หน่วยประมวลผลกลาง หน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์รับข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการ

  19. Processor Main memory ความสัมพันธ์

  20. หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนหลัก คือ 1) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณและการเปรียบเทียบทางตรรกะ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมและประสานการทำงานของส่วนต่างๆ โดยมีนาฬิกา(clock)เป็นตัวให้จังหวะกระตุ้นการทำงาน นอกจากนี้ยังมีหน่วยที่ทำหน้าที่จดจำคำสั่งหรือข้อมูลซึ่งกำลังถูกดำเนินการ เรียกหน่วยนี้ว่า หน่วยความจำความเร็วสูงหรือ รีจีสเตอร์ (Registers)

  21. รีจิสเตอร์ (Register) แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • รีจิสเตอร์ทั่วไป (General Register) • รีจิสเตอร์พิเศษ (Special Register) คือ รีจิสเตอร์ที่แต่ละตัวจะทำงานเฉพาะอย่าง ที่สำคัญได้แก่ • Accumulator ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในขณะประมวลผล หรือเป็นที่พักผลลัพธ์จากการคำนวณ ก่อนที่จะถูกส่งไปบันทึกในหน่วยความจำหลัก • Instruction Register เป็นที่เก็บคำสั่งที่กำลังทำงานอยู่ • Program Counter เป็นตัวชี้ไปยังคำสั่งถัดไปที่จะถูกดึงเข้ามาทำงาน

  22. Clock CU ALU Registers ส่วนประกอบสำคัญในหน่วยประมวลผลกลาง

  23. หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำหลักมี 2 ชนิดคือ 1) ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลในหน่วยความจำแบบนี้ได้ 2) RAM (Random Access Memory) หรืออาจเรียกว่า RWM (Read/Write Memory) หน่วยความจำแบบนี้สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้

  24. ความสัมพันธ์ Clock CU ALU Registers Main memory

  25. หน่วยความจำสำรอง หน่วยความจำสำรองจะเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลอย่างถาวร ไม่ลบหายถึงแม้จะไม่มีไฟเลี้ยงอยู่ก็ตาม ทำหน้าที่เก็บข้อมูลอย่างถาวรไว้ใช้ในโอกาสต่อไป

  26. สื่อบันทึกข้อมูลแบบลำดับสื่อบันทึกข้อมูลแบบลำดับ • SAS : Sequential Access Storage • บัตรเจาะรู (Punch Card) • Card Reader • Card Punch • แถบกระดาษ (Paper Tape) • เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) • เทปตลับ (Tape cassette)

  27. สื่อบันทึกแบบเข้าถึงโดยตรง(Direct Access Storage) • จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) • เครื่องอ่านและบันทึกจานแม่เหล็ก (Disk drive) • แผ่นดิสเก็ตต์ (Diskette, Floppy Disk) • เครื่องอ่านและบันทึกดิสเก็ตต์ (Diskette drive) • Hard disk หรือ Fixed disk • Compact Disk(CD) : CD-ROM

  28. ภาพจานแม่เหล็ก (Magnetic disk)

  29. รายละเอียดจานแม่เหล็กรายละเอียดจานแม่เหล็ก • Tracks: ร่องบันทึกข้อมูลตามแนวเส้นรอบวงบนจานแม่เหล็ก หรือตาม ความกว้างของเทปแม่เหล็ก ร่องบันทึกข้อมูลแต่ละร่อง ไม่ต่อเนื่องกัน • Sector: ส่วนหนึ่งของร่องบันทึกข้อมูลบนแผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน ซึ่ง บันทึกข้อมูลระหว่าง 128 byte ถึง 1 Kb • Cylinder: แนวดิ่งตรงกันของร่องบันทึกข้อมูลบนชุดจานแม่เหล็ก แต่ละ แผ่นวางเรียงซ้อนกันบนแกนเดียวกัน ดังนั้นถ้า 200 ร่องบันทึก ก็จะมี 200 Cylinder • Surface: พื้นผิวของจานแม่เหล็ก 1 แผ่นมี 2 พื้นผิว

  30. แผ่นจานแม่เหล็กเก็บข้อมูล (Magnetic Disk) 512 Byte Track+Sector Track Sector

  31. แผ่นจานแม่เหล็กแบบอ่อน (Floppy Disk)

  32. ภาพแผ่นดิสก์เก็ตต์

  33. แผ่นจานแม่เหล็กแข็งขนาดเล็ก (Hard Disk)

  34. มีการบันทึกลักษณะเหมือนกับจาน แม่เหล็ก แต่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากกว่า CD

  35. บิต กับ ไบต์ • บิต (Bit) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดที่อาจเป็นเลข 0 หรือ 1 ย่อมาจาก Binary Digit • ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิต จำนวน 6-8 บิต ใช้เข้ารหัสแทน อักษร หรือ ตัวเลข 1 ตัว และนิยมใช้เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล

  36. หน่วยวัดความจุข้อมูล • 1 Byte = 6-8 Bit • 1 Kbyte = 210 Byte =1024 Byte • 1 Mbyte = 210 Kbyte • 1 Gbyte = 210 Mbyte K= Kilo กิโล M = Mega เมกะ G = Giga จิกะ T = Tera เทรา

  37. วิธีการบันทึกในหน่วยความจำสำรองวิธีการบันทึกในหน่วยความจำสำรอง อุปกรณ์การอ่าน และ อุปกรณ์บันทึก อุปกรณ์บันทึก CPU ------- MEMORY สื่อบันทึก อุปกรณ์อ่าน

  38. The Input/Process/Output Cycle CPU CU ALU Registers Input unit Main memory Output unit Secondary storage

More Related