1 / 48

การปฏิรูประบบราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ

การปฏิรูประบบราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ. อรพินท์ สพโชคชัย กรรมการ ก.พ.ร. (เต็มเวลา) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วันที่ 3 เมษายน 2550.

seamus
Télécharger la présentation

การปฏิรูประบบราชการและ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูประบบราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการการปฏิรูประบบราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ อรพินท์ สพโชคชัย กรรมการ ก.พ.ร. (เต็มเวลา) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วันที่ 3 เมษายน 2550

  2. เกิดกระแสแนวคิดในการบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่(New Public Management)และธรรมาภิบาล หรือ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(Good Governance) ภาครัฐในประเทศต่างๆ มักประสบปัญหาและถูกวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับประสิทธิภาพประสิทธิผล และความสุจริตเที่ยงธรรมในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐบาลจำเป็นต้องให้ความสำคัญและแสวงหาวิธีการเพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของภาครัฐให้กลับเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและให้บริการสาธารณะที่มีคุณภาพ ตอบสนองคามต้องการของประชาชน

  3. หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่ Good Governance หลักประชาธิปไตย หลักการบริหารสมัยใหม่ หลักกลไกตลาด New Public Management

  4. New Public Management: กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ บทบาทภารกิจของภาครัฐเน้น • บริการสาธารณะคุณภาพสูงที่ประชาชนเห็นคุณค่า ตรงความต้องการของประชาชน • รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่จำเป็น และรัฐทำได้ดี • ทบทวนบทบาทภารกิจของภาครัฐและปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่เน้น • กระจายอำนาจและลดการควบคุมจากระดับบนหรือส่วนกลาง • บริหารงานเชิงกลยุทธ และวางยุทธศาสตร์การบริหารราชการ • บริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ วัดผลงาน และการให้รางวัลองค์กรและบุคคล • ให้ความสำคัญในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ได้ผลงาน

  5. New Public Management: กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ รูปแบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • โครงสร้างการทำงานและการจัดการที่ยืดหยุ่นคล่องตัว • เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) • ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารงานและการให้บริการสาธารณะ • บริหารราชการในระบบเปิดและเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารภาครัฐ ข้าราชการในระบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่ • บริหารงานอย่างมืออาชีพ และเป็นKnowledge workers • ยึดหลักธรรมาภิบาล ประชาธิปไตย และจรรยาบรรณข้าราชการในการดำเนินงาน

  6. การบริหารภาครัฐเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนคือการให้บริการสาธารณะที่มีคุณภาพ ที่หมายถึงการจัดให้มีบริการสาธารณะที่เหมาะสม ในเวลาที่เหมาะสม สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสม และใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม จุดให้บริการสาธารณะ ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายหลัก ผู้ปฏิบัติส่วนหน้า Knowledge Workers • แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ • บริหารงานราชการ • กำกับดูแลผลงาน • พัฒนาองค์กรและงาน การบริหารราชการระดับปฏิบัติ ผู้บริหารระดับกลาง ฝ่ายผลักดันยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ • กำหนดยุทธศาสตร์ • จัดสรรทรัพยากร • แก้ปัญหา • กำกับผลงาน • ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรม การบริหารราชการระดับนโยบาย ผู้บริหารระดับสูง

  7. ปัญหาพื้นฐานของภาครัฐแบ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของภาครัฐแบ่งเป็น • ปัญหาในเชิงโครงสร้างและระบบของภาครัฐ • ปัญหาของระบบราชการ • ปัญหาด้านกฎระเบียบ • ปัญหาการบริหารงาน • ปัญหาด้านวัฒนธรรมข้าราชการ • ปัญหาขาดธรรมาภิบาลในการบริหารราชการ โดยเฉพาะ ความไม่โปร่งใส และการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม • ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน

  8. ปัญหาในเชิงโครงสร้างของภาครัฐปัญหาในเชิงโครงสร้างของภาครัฐ • มีการแบ่งแยกระหว่างฝ่ายการเมืองและประจำ แต่ก็ยังไม่ปลอดการแทรกแซง • โครงสร้างเป็นปิรามิด มีสายการบังคับบัญชาที่ยาว และไปตามลำดับชั้น • แบ่งแยกบทบาทภารกิจตามความชำนาญ และมีความซับซ้อน • มีกฎกติกาและกฎหมายที่กำกับการทำงานขององค์กร • ทำงานตามหน้าที่ยากที่จะทำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ • มีโครงสร้างที่รัดรึง (Rigid)ปรับเปลี่ยนยาก

  9. ปัญหาของระบบราชการในด้านกฎระเบียบปัญหาของระบบราชการในด้านกฎระเบียบ • เน้นการทำตามกฎระเบียบมากกว่า การให้บริการที่ตรงความต้องการและมีคุณภาพ • มีกฎระเบียบมากมายเพื่อใช้บังคับ และไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • กฏหมายบางส่วนล้าสมัย • เป็นกฎระเบียบที่รัดรึง ไม่ใช้หลักสามัญสำนึก • กฎระเบียบมักเป็นอุปสรรคในการทำงานมากกว่าเอื้อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ข้าราชการสามารถเลือกใช้และตีความระเบียบในกรณีที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้

  10. ปัญหาระบบการบริหารงานและวัฒนธรรมของข้าราชการปัญหาระบบการบริหารงานและวัฒนธรรมของข้าราชการ • ขาดระบบความรับผิดชอบการตัดสินใจที่ชัดเจน • การตัดสินใจทำโดยผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชา • ระบบไม่เอื้อให้ข้าราชการทำงานเป็นทีม แต่ส่งเสริมให้เกิดการเล่นพรรคเล่นพวกและสร้างเกิดระบบอุปถัมภ์ • ระบบการให้รางวัลไม่สอดคล้อง กับการวัดผลงาน ส่งผลให้ข้าราชการขาดขวัญกำลังใจ และแรงจูงใจในการพัฒนา • มีความเป็นจ้าวขุนมูลนาย ขาดจิตสำนึกในการทำงานเพื่อประชาชน

  11. ปัญหาขาดธรรมาภิบาลในการบริหารราชการปัญหาขาดธรรมาภิบาลในการบริหารราชการ • นิยมการทำงานในระบบปิด มากกว่าการทำงานโดยต้องเกี่ยวข้องกับผู้รับประโยชน์ • ขาดระบบการจัดทำรายงานและการเสนอรายงานต่อสาธารณะ • กลัวการตรวจสอบโดยบุคคลภายนอก • ไม่คุ้นเคยและไม่ชอบเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน • ไม่เข้าใจหลักการและแนวทางการปฏิบัติสำหรับการทำงานแบบมีส่วนร่วม • ระบบการทำงานไม่โปร่งใส

  12. ปัญหาการทุจริตในภาครัฐปัญหาการทุจริตในภาครัฐ • ปัญหาการทุจริตเกิดขึ้นในทุกระดับมาจากปัญหาระบบ กฎหมาย และคน • การทุจริตขยายตัวทั้งในเชิงปริมาณ และจำนวนความเสียหาย • การทุจริตมีการกระทำเป็นเครือข่าย ขยายวงกว้าง และทวีความซับซ้อน • มีการประสานผลประโยชน์ระหว่างนักการเมือง ภาคเอกชน และข้าราชการ (เป็นธุรกิจทุจริตการเมือง) • มีระบบอิทธิพล และกฎหมายไม่อาจเอาผิดได้อย่างจริงจัง • ข้าราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องขาดจิตสำนึกในการดูแลผลประโยชน์ของแผ่นดิน • กลไกการป้องกันและปราบปรามยังไม่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ • ขาดความสนใจและการดูแลจากภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน

  13. สภาพแวดล้อมของภาครัฐและระบบราชการไทยที่เปลี่ยนแปลงไปสภาพแวดล้อมของภาครัฐและระบบราชการไทยที่เปลี่ยนแปลงไป ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงราชการให้ดีขึ้น ระบบราชการ กระแสโลกาภิวัตน์ และโลกยุคใหม่ การ เปลี่ยนแปลง ในประเทศ ความต้องการของประชาชน • สังคมยุคข้อมูล ข่าวสาร • ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี • การแข่งขันในเวที โลกและทางการค้า • การพัฒนาสังคม • การปฏิรูปการเมือง • กลไกและกติกาใหม่ • เศรษฐกิจหดตัว • ปัญหาวิกฤตภายใน ต่างๆ • ภาครัฐที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ • บริการสาธารณะ ที่ดีกว่าถูกกว่า • ระบบราชการที่สุจริต • และโปร่งใส วิกฤตเศรษฐกิจการเงิน

  14. ปัจจัยเร่งการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐหลังช่วง 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540จุดประกายที่นำไปสู่การปฏิรูปปรับปรุงระบบราชการเพื่อให้สอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในยุคใหม่ วิกฤตเศรษฐกิจและการเงิน พ.ศ. 2540 เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอ ล้าสมัย และทรุดโทรมของระบบราชการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

  15. กรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบราชการไทยกรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบราชการไทย หลักในการพัฒนาระบบราชการ ระบบราชการ ที่พึงปรารถนา ระบบราชการในอดีต • สนองความต้องการและ ประโยชน์สุขของประชาชน • บริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ประสิทธิภาพประสิทธิผล • เน้นหลักคุ้มค่า ทันสมัย • ประยุกต์หลักการ บริหารราชการ ยุคใหม่ (NPM) • เป็นระบบราชการ ที่บริหารงานแบบ ดั้งเดิม • มีปัญหาด้าน ธรรมาภิบาล • เที่ยงธรรมและรับผิดชอบ • ยืนหยัดในความถูกต้อง • ประชาชนมีส่วนร่วม • สุจริต โปร่งใสสามารถ ตรวจสอบได้ • สร้าง GOOD GOVERNANCE

  16. การปฏิรูประบบบริหารภาครัฐมีการดำเนินการดังนี้การปฏิรูประบบบริหารภาครัฐมีการดำเนินการดังนี้ • จัดระเบียบโครงสร้างและส่วนราชการให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของประเทศ • พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 • ปรับการบริหารราชการให้ทันสมัยเป็นไป ตามหลัก NPM และหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545

  17. การจัดระเบียบโครงสร้างส่วนราชการการจัดระเบียบโครงสร้างส่วนราชการ • ปรับส่วนราชการที่มีบทบาทภารกิจใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน • ยุบเลิกส่วนราชการที่ไม่จำเป็น • เกิดกระทรวงใหม่และหน่วยงานใหม่ • จัดภารกิจของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจน • ปรับโครงสร้างการบริหารราชการภายในกระทรวง/กรม • จัดโครงสร้างและระบบการบริหารราชการในส่วนภูมิภาค

  18. เสนอแนะ แนวทาง ปฏิบัติ รัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย แปลง นโยบาย สู่แผน ยุทธศาสตร์ สำนักงาน รัฐมนตรี รองปลัดฯ ปฏิบัติ รองปลัดฯ ปฏิบัติ รองปลัดฯ ปฏิบัติ ปลัดกระทรวง บริหาร / ยุทธศาสตร์ • จัดสรรและบริหารทรัพยากร • กำกับ ติดตาม • ตรวจสอบประเมินผล • รายงาน ความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในกระทรวง

  19. บทบาทภารกิจสำคัญของภาคราชการบทบาทภารกิจสำคัญของภาคราชการ ท้องถิ่นหรือเอกชน นโยบาย งานเชิงบริการ Support functions ถ่ายโอน/แปลงสภาพ งานเชิงปฏิบัติ Non-core functions Core functions กำกับดูแล ส่งเสริม ส่วนราชการ องค์การมหาชนหรือรูปแบบอื่น

  20. ReshapingPublic Sector ส่วนท้องถิ่น ส่วนท้องถิ่น ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง ส่วนกลาง ปัจจุบัน ระยะยาว ที่มา : สุนทรพจน์ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) 3 ตุลาคม 2547 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล

  21. รัฐบาล เอกชน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐวิสาหกิจ กระทรวง กรม กระทรวง กรม กระทรวง กรม องค์การมหาชน Government-wide Agenda หน่วยงานอื่นของรัฐ จังหวัด โอนถ่าย(Devolution) - บทบาท อำนาจหน้าที่ - ทรัพยากร (งบประมาณ + คน) หน่วยงานกลาง  ส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด บูรณาการ(Integration) เงื่อนไขของความสำเร็จ ระหว่างกระทรวง/กรม และ ระหว่าง กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เข้าด้วยกัน (Horizontal & Vertical Integration) จังหวัด ชุมชน/ประชาชน

  22. การบริหารราชการในระดับจังหวัดตามรูปแบบ ผู้ว่าฯ CEO มีความสำคัญกับเพราะ ความสำเร็จในการบริหารราชการของจังหวัดมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศและการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนทั่วประเทศ การบริหารแนวใหม่เป็นโอกาสในการปรับกระบวนทัศน์การทำงานที่เน้นประโยชน์สุขของประชาชน และอาจมีนวัตกรรมการบริหารใหม่ๆ ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้สามารถแก้ไขปัญหาที่ตรงความต้องการของประชาชนและพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และเน้นการมีส่วนร่วมของประชาสังคม แสวงหาวิธีการในการผลักดันการพัฒนาประเทศ (ทุกพื้นที่) อย่างเป็นระบบ มีเอกภาพ (เชื่อมประสานตั้งแต่ระดับชาติ-ภูมิภาค-ท้องถิ่น-ชุมชน-ประชาชน)

  23. การบริหารราชการระดับจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาบทฐานการมีส่วนร่วมการบริหารราชการระดับจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาบทฐานการมีส่วนร่วม ค.ร.ม. นโยบายระดับชาติราชการส่วนกลาง ผู้แทนส่วนราชการต่างๆ ภาคธุรกิจเอกชน ยุทธศาสตร์/เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดและแก้ไขปัญหาต่างๆ ในระดับจังหวัด เวทีเครือข่ายที่ปรึกษาเพื่อร่วมพัฒนาราชการในระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการ จว. นักวิชาการ สื่อมวลชน แก้ไขปัญหาความยากจน แผนงานของท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ผู้แทนภาคประชาสังคม ติดตามผล

  24. หลักการบริหารราชการที่ดีมาตรา 3/1 --พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน

  25. มาตรา 3/1 ต่อ --พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุแต่งตั้งบุคคล เข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้

  26. สนับสนุนและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและประชาชนสนับสนุนและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและประชาชน High Performance Civil Servants High Performance Public Sector ข้าราชการ High Performance Society การปรับความคิดวัฒนธรรมและค่านิยม การพัฒนาและเพิ่มสมรรถนะข้าราชการ ระบบราชการ การสร้างธรรมาภิบาล การปรับระบบการทำงานและกระบวนงาน การพัฒนาคุณภาพบริการ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

  27. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นหลักการที่ประยุกต์แนวคิดในการบริหารราชการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์มาใช้ในระบบราชการไทยการบริหารราชการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ กับการจัดโครงสร้าง และการปรับระบบการบริหารราชการที่ดำเนินการในปัจจุบันเป็นหลักการที่ถูกกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยวิธีการและแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ที่มาของการประเมินผลองค์กรภาครัฐ....

  28. การผสมผสานแนวคิดการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์และการพัฒนาระบบราชการการผสมผสานแนวคิดการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์และการพัฒนาระบบราชการ

  29. ราชการยุคใหม่และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ราชการยุคใหม่และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ในช่วง 1980s รัฐบาลของประเทศที่พัฒนาต่างๆ ต้องเผชิญกับกระแสกดดันจากประชาชนให้ปฏิรูประบบราชการเพราะ... • ราชการขาดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ล่าช้า • มีต้นทุนสูง • ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน และบริการคุณภาพต่ำ • ประชาชนขาดความเชื่อมั่นศรัทราในระบบราชการ • มีการคิดค้นวิธีการบริหารเพื่อให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีความชัดเจน เน้นผลงาน และมีความรับผิดชอบมากขึ้น นำหลักการบริหารงานในเอกชนที่เน้นผลสำเร็จของงาน ปรับมาเป็นการบริหารราชการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ • Management for Results หรือ Result-based Management • มีการวัดผล (Performance Measurement) และการใช้ระบบแรงจูงใจ

  30. กระบวนการปรับส่วนราชการไทยสู่.......การบริหารราชการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์กระบวนการปรับส่วนราชการไทยสู่.......การบริหารราชการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ • สำนักงาน ก.พ. เริ่มส่งเสริมความเข้าใจและพัฒนาระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยเริ่มทดลองในหน่วยงานนำร่อง และหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ • สำนักงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดงบประมาณประจำปี • สำนักงาน ก.พ.ร. ได้รับการมอบหมายให้พัฒนาระบบราชการและส่งเสริมส่วนราชการมีการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ตามที่กฎหมายกำหนด • เริ่มจากกระบวนการเรียนรู้ (Action Learning Program) • การจัดระบบการวัดผลงาน

  31. การบริหารรัฐกิจแนวใหม่การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ ติดตาม ประเมินผล Strategic Control นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation • กำกับติดตามและ • ประเมินผล • ทบทวนสถานการณ์ • เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • Strategy Map • แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

  32. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ม. 19 ม. 12, 13, 14 ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์และเป้าหมาย – ทำความตกลงที่มีผลผูกพัน ครม. รมต. และส่วนราชการ แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) แผนปฏิบัติราชการประจำปี ทบทวน/ เตรียมการ รัฐธรรมนูญ ประมาณการรายได้-รายจ่ายระยะปานกลาง แผนนิติบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ม. 15 ม. 16, 17, 18

  33. การวัดผลสัมฤทธิ์ แผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน 2548-2551 เป้าประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ ตัวชี้วัด ผลการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาลและนโยบายแห่งรัฐ นโยบายการศึกษา ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวง กรม/กลุ่มจว. จว. เป้าประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ ตัวชี้วัด ผลงานระดับกระทรวง/กรมและพื้นที่ ที่สะท้อนนโยบายฯ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม/มหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัด แผนปฏิบัติราชการรายปี กระทรวง กรม/กลุ่มจว. จว. ผลงานรายปีของกระทรวง/กรมและพื้นที่ ที่สะท้อนนโยบายฯ การจัดสรรงบประมาณประจำปี การวัดผลงานระดับทีมและบุคคล

  34. การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result-based Management) ลดขั้นตอน ผลสัมฤทธิ์ (ประโยชน์สุขต่อประชาชน) วัตถุประสงค์ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ประสิทธิผล ประหยัด ประสิทธิภาพ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์โดยประเมินผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม เพิ่มพันธะความรับผิดชอบและการตรวจสอบผลงาน เพิ่มความมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความประหยัด และความคุ้มค่า ประโยชน์สุขของประชาชน

  35. การวัดผลสัมฤทธิ์ แผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ มิติผลกระทบภายนอก มิติเชิงคุณภาพบริการ CSF/KPI CSF/KPI เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ Balanced Scorecard มิติเชิงประสิทธิภาพ มิติการพัฒนาภายในองค์กร CSF/KPI CSF/KPI

  36. กระบวนการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และการและประเมินผลการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และการและประเมินผลการปฏิบัติงาน • การบริหารและประเมินผลแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นเครื่องมือการบริหารเพื่อกระตุ้นการทำงานที่เน้นผลงาน และการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การวางแผนยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดเป้าหมายวัตถุประสงค์ กำหนด ตัวชี้วัด(KPI) การจัดทำ ฐานข้อมูลเพื่อตรวจสอบผลงาน การวิเคราะห์ ประเมินผล เทียบกับเป้าที่กำหนด รายงาน ผลสัมฤทธิ์ การปฏิบัติงาน รางวัล การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน กำหนดขอบเขตภารกิจที่ชัดเจน ผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน กำหนดลำดับความสำคัญ สร้างความเข้าใจร่วมของคนที่เกี่ยวข้อง

  37. Objectives Objectives Objectives Initiatives Initiatives Initiatives Measures Measures Measures Targets Targets Targets Balanced Scorecard Financial “To succeed financially, how should we appear to our shareholders?” Customer Internal Business Process “To achieve our vision,how should we appear to our customers?” “To satisfy our shareholders and customers, what business processes must we excel at?” Vision and Strategy Objectives Measures Initiatives Targets Learning and Growth “To achieve our vision,how will we sustain our ability to change and improve?”

  38. แนวทางการจัดทำตัวชี้วัดของส่วนราชการแนวทางการจัดทำตัวชี้วัดของส่วนราชการ ความต้องการของประชาชน ความรุนแรงของปัญหา เป้าหมายตาม แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการภารกิจหลักงานตามนโยบาย ศักยภาพของส่วนราชการ งบประมาณประจำปี ระยะเวลาที่ต้องดำเนินการ SMART ผลงานที่คาดหวังและ ตัวชี้วัดจองส่วนราชการ เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดเป็นเครื่องมือในการพัฒนา การบริหารและการเรียนรู้ ...มากกว่าการใช้เป็นเครื่องที่วัดความล้มเหลวหรือจับผิด สร้างความชัดเจนในการปฎิบัติ เครื่องมือกำกับผลงานภายใน เครื่องมือในการจูงใจ

  39. มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน (120%) Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 8% 10% 10% 60% 50% 55% มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น 15% 20% 10% 30% 8% 24% Customer Perspective Learning & Growth Perspective

  40. ระดับ 5 ดีเป็นเลิศ X X ระดับ 4 ดีเยี่ยม X X ระดับ 3 พึงพอใจ X X ต้องปรับปรุง ระดับ 2 X X ไม่น่าพอใจ ระดับ 1 X X หลักการกำหนดค่าเป้าหมาย ตัวอย่างเปรียบเทียบ สูงกว่าเป้าหมาย Yardstick ต่ำกว่าเป้าหมาย

  41. คณะกรรมการกำกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผลคณะกรรมการกำกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผล กลไกขับเคลื่อนระบบการประเมิน คณะกรรมการ ก.พ.ร. คณะทำงานระดับกระทรวง ทีมงาน ก.พ.ร. คณะกรรรมการเจรจาฯ คณะกรรรมการเจรจาฯ จัดทำแผนปฏิบัติราชการและส่งให้ ก.พ.ร. คณะกรรรมการเจรจาฯ คณะกรรรมการเจรจาฯ คณะที่ปรึกษา(TRIS) เจรจาเป้าหมาย ตัวชี้วัด และค่าน้ำหนัก ดำเนินการตามคำรับรองฯ ประกาศผล คำรับรองปฏิบัติราชการ กระบวนการประเมินผล รางวัลจูงใจ

  42. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 4-5 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 55 • การประเมินความสำเร็จเชิงนโยบายตามแผนปฏิบัติราชการ • ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการ • ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของ สกอ.และ • ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงาน/แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย) • การประเมินความสำเร็จตามพันธกิจหลัก 4. ระดับความสำเร็จในการบรรลุมารตรฐานคุณภาพของ สมศ. ของสถาบันอุดมศึกษา • มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ • มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ • มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม • ความสำเร็จในการพัฒนาระบบเข้าสู่การจัดลำดับในสากล

  43. มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 3 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15 • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ระดับความสำเร็จในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง • ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์(Professional Ethics) ของสถาบันอุดมศึกษา

  44. มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 10 • ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน • ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของสถาบันอุดมศึกษา (ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานของสถาบันอุดมศึกษา) • ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาการให้บริการ เช่น การลดขั้นตอนการทำงาน • ประสิทธิภาพการใช้งบประมาณ (ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต)

  45. มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร 14 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 20 • การบริหารจัดการ เช่น • ระดับคุณภาพของการกำกับดูแลของสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม • ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงให้ดำเนินกิจการได้โดยอิสระ มีความคล่องตัว และมีเสรีภาพทางวิชาการ • การจัดการความรู้ • ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ • การพัฒนาบุคลากร • ระดับคุณภาพการพัฒนาบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา

  46. มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร • การจัดการสารสนเทศ • ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษา • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุดมศึกษาด้านนักศึกษา บุคลากร และหลักสูตร • การเรียนรู้ • ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด • ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ • ประสิทธิภาพของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา

  47. เจตนารมณ์ในการวัดและประเมินผลการปฏิบัติราชการเจตนารมณ์ในการวัดและประเมินผลการปฏิบัติราชการ • เพื่อบริหารราชการเพื่อประโยน์สุขของประชาชน • เพื่อบริหารราชการที่เกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจแห่งรัฐ • สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่หลักด้านการผลิตบัณฑิต การศึกษาวิจัย การบริการสังคม และการส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม • เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มศักยภาพการบริหารราชการสำหรับผู้บริหาร • การประเมินผลสำเร็จ • การควบคุมผลงาน • การจูงใจบุคลากร (การชื่นชมผลงาน การเลื่อนขั้น การให้รางวัล) • การพัฒนายกระดับผลการปฏิบัติราชการ • การบริหารจัดการภายในองค์กร • กระบวนการเรียนรู้และปรับปรุงการบริหารราชการ

  48. Thank you for your attention! &

More Related