1 / 32

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ในระบบ PCA

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ในระบบ PCA. แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน. PCA : Primary Care Award คือ อะไร. เป็น กรอบระบบคุณภาพ ในการพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ( CUP & PC ) ที่เน้นการจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบทั้งองค์กรที่มีการบริหารร่วมกัน

season
Télécharger la présentation

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ในระบบ PCA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ในระบบ PCA แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

  2. PCA : Primary Care Award คือ อะไร • เป็น กรอบระบบคุณภาพ ในการพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP & PC ) ที่เน้นการจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบทั้งองค์กรที่มีการบริหารร่วมกัน • เป็น กรอบ ที่แสดงว่า การพัฒนา การบริหารจัดการ เครือข่ายบริการ เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อเป้าประสงค์ของเครือข่ายได้ดี ประกอบด้วยอะไรบ้าง และมีหลักการทำงานอย่างไร และจะดูผลลัพธ์ที่ต่อร้อยกันอย่างๆไร • เน้นการเชื่อมโยง ต่อร้อยระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ที่ส่งผลต่อเป้าหมาย ปลายทางขององค์กร • มิได้เป็นมาตรฐาน หรือแนวปฏิบัติกิจกรรม • ใช้หลักเดียวกับ TQA : Malcolm Baldridge • แปลสู่การปฏิบัติตามลักษณะธรรมชาติ พันธะกิจ ขององค์กรแบบต่างๆ

  3. กับดัก การทำงานคุณภาพ • การพัฒนาคุณภาพ= การกรอกข้อความในเอกสาร • กระบวนการพัฒนาคุณภาพ สั่งให้เกิดในทันทีไม่ได้ ถ้าไม่มีความเข้าใจ และไม่มีทุนคนทำงาน ที่ฐานทักษะการทำงานที่ดี หัวใจความเป็นมนุษย์ และความเข้าใจเชิงระบบมีการเรียนรู้สะสม บ่มเพาะ และดูแลให้เติบโต • การสร้างให้เกิดคุณภาพ ต้องร่วมกับการพัฒนาองค์ประกอบอื่นๆ ด้วย

  4. PCA • ต้องทำเป็น CUP (เครือข่ายอำเภอ = รพ+สสอ+สอ) CUP เป็นเจ้าของร่วม ไม่ใช่ทำ แค่ PCU • ต้องพัฒนาที่ core value ของการทำงานด้วย มิใช่เพียง แค่ประเมินตามตาราง หรือตามคำถามเท่านั้น ต้องมีการพัฒนาวิธีทำงาน ตาม core value • มีการพัฒนาคน ควบคู่กับการ พัฒนาระบบงาน มิใช่แค่ตอบคำถามอย่างเดียว • มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้ และการทบทวน พัฒนาตนเองต่อเนื่อง

  5. แนวคิดการพัฒนา บทบาทของระบบบริการปฐมภูมิ บริการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู เสริมการพึ่งตนเองอย่างสมดุล ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นการร่วมสร้างเสริม “สุขภาพดี” คุณลักษณะคุณภาพของบริการปฐมภูมิ เข้าถึงง่าย ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง ตอบสนองปัญหาสุขภาพพื้นที่ ผสมผสานกับชุมชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปรับวิธีทำงานตามหลักการให้เหมาะสมกับบุคคล และบริบทแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพ แนวคิด CQI เน้นวิธีคิด และการเรียนรู้ปรับตัวอย่างเป็นระบบ เน้นประเมินเพื่อพัฒนา มากกว่าการรับรอง

  6. Understand the Whole Person Context Family • Culture • Work • School • HC system Person • Family system • Family Life cycle • Life cycle • Family of origin • History Disease • S & S • Ix Illness • Feeling • Ideas • Function • Expectation

  7. สุขภาพดี ชุมชนพึ่งตนเองได้ ระบบดูแลสุขภาพ : กลุ่มด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ การเจ็บป่วยบ่อย เรื้อรัง เป้าหมาย สุขภาพครอบครัว การป้องกันโรค ชุมชนสร้างสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง ความครอบคลุม สอดคล้องความต้องการ และบริบท องค์กรชุมชน ท้องถิ่น ระบบ กลไก เป้า แผน ร่วม ระบบงาน นโยบายสาธารณะ เรียนรู้ พัฒนา สถาน พยาบาล หน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง ระบบสนับสนุน การนำ ทีม การบริหารจัดการ การใช้ข้อมูล การเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง การออกแบบระบบงาน วัฒนธรรม ค่านิยม ระบบ ภายใน ใช้ทรัพยากรร่วมอย่างพอดี ปรับตามบริบทพื้นที่ ระดมทรัพยากรจากภาคี ภาคส่วนต่างๆ ทรัพยากร

  8. CONTEXT ไม่เข้าใจในบริบท เข้าใจในบริบท “บริบท” ทำให้เห็นในสิ่งที่เราแตกต่างจากคนอื่น เพื่อจะได้ “ทำเฉพาะสิ่งที่จำเป็น”

  9. แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Core Value & Concept Do Action Study บริบทของเรา Units Systems Patient Pop. PCU, CUP HPH Plan Objective / Indicator Context Design Learning มาตรฐาน Criteria /Standard Improvement Act ตั้งเป้า/ เฝ้าดู ปรับเปลี่ยน/เรียนรู้ 3C-PDSA

  10. Core Value หลักการทำงาน • การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง หรือ ความเป็นเลิศที่ต้องได้จากการให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย • 2. การทำงานอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • 3. การบริหารจัดการด้วยการใช้ข้อมูล และข้อเท็จจริง • 4. การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล • 5. การบริหารจัดการเชิงระบบ • 6. การมีความคล่องตัว • 7. การยึด “ผลลัพธ์” และ “การให้คุณค่า” เป็นเป้าหมายในการทำงาน Human focus & people centred Community / people participation Evidence based Learning : org./personnel System management Flexibility & context base Result based / value added HCV/R SELF

  11. Path to Performance Excellence Reacting to Problems Systematic Approach No system Alignment Integration Role Model Role Model 6 Integration 5 Alignment 4 Systematic Approach ปรับ ทำ คิด 3 Reacting to Problems 2 No system 5 6 1 P 1 2 3 Strategic Leadership Lead the organization 1 / 2 / 5 / 11 C A 4 7 D Organizational Learning 3/ 4 / 6 / 10 Improve the organization Manage the organization Execution Excellence 7/ 8 / 9

  12. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 3 หมวดที่ 7 ผลลัพธ์ 7.1 ด้านประสิทธิผล 7.2 ด้านคุณภาพการให้บริการ 7.3 ด้านประสิทธิภาพของกระบวนการให้บริการ 7.4 ด้านการพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หมวดที่ 1 การนำองค์กร หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่ 6 ระบบบริการ ส่วนที่ 2 หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • 6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่า • ของระบบบริการปฐมภูมิ • - การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมฯ • การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัว ฯ • การดูแลสุขภาพกลุ่มประชากร • การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับองค์กรชุมชน 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ - การจัดระบบสนับสนุนบริการ - การสนับสนุนและมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน หน่วยงานต่างๆ

  13. Strategy Map : Public Sector KPI : Key Performance Indicator 7.2 ผลลัพธ์ด้าน คุณภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 7.1 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล ยุทธศาสตร์ จังหวัด กสธ. Stakeholder (Customer) ด้านประสิทธิผล Results Productivity (Financial) 7.3 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิภาพ มาตรฐานหน่วยบริการ การสนับสนุน 7.4 ผลลัพธ์ด้าน การพัฒนาองค์กร การเรียนรู้องค์กร ด้านคุณภาพ Internal Process System 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 3.2 ความสัมพันธ์ รู้จักกลุ่มเป้าหมาย 4.2 ข้อมูลและ องค์ความรู้ 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการ สนับสนุน ด้านประสิทธิภาพ Learning / Growth Driver 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ ด้านการพัฒนาองค์กร ทีม ระบบบุคลากร ข้อมูล แผน กำกับ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ กลุ่มเป้าหมาย หุ้นส่วน 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 1.1 การนำองค์กร 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ

  14. กระบวนการสร้างคุณค่าของหน่วยบริการปฐมภูมิกระบวนการสร้างคุณค่าของหน่วยบริการปฐมภูมิ • การดูแลรายบุคคลและครอบครัว • การดูแลกลุ่มประชากร • การสร้างกระบวนการเรียนรู้กับองค์กรชุมชน

  15. ตอนที่2:สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิตอนที่2:สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 2.1 บริการสุขภาพรายบุคคลและครอบครัว บริการรายบุคคลและครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพที่มาขอรับบริการที่สถานพยาบาล หรือ ที่บ้าน โดยเน้นให้เป็นบริการแบบองค์รวม ผสมผสาน ต่อเนื่อง โดยที่ผู้รับบริการจะได้รับการดูแลทั้งส่วนที่เป็นปัญหาสุขภาพ หรือโรคทั่วไป และได้รับการค้นหาปัญหาและแก้ไขแบบองค์รวม (Holistic Approach) ตลอดจนได้รับความรู้เพื่อสนับสนุนการสร้างสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ PCU มีการจัดระบบงาน & จัดกระบวนการดูแลที่ตอบสนองสอดคล้องปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการ รายบุคคล & ครอบครัว ประชาชนมีส่วนร่วม & เสริมการดูแล การพึ่งตนเองของผูรับบริการ & ครอบครัว แนวคิด 1. ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง 2. การดูแลแบบองค์รวม ต่อเนื่อง 3. สร้างการมีส่วนร่วม เสริมสมรรถนะของผู้รับบริการ&ญาติในการดูแลสุขภาพ

  16. คุณภาพของระบบโดยรวม 1: ระบบบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย อย่างเท่าเทียม (Accessibility) 2: มีบริการได้ครอบคลุมผู้ป่วยที่มีปัญหาเฉียบพลัน ฉุกเฉิน ปัญหาเรื้อรัง และการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค (Availability of care) 3: ระบบงาน และบุคลากรที่พร้อมให้บริการอย่างผสมผสาน เบ็ดเสร็จ เป็นองค์รวม เสริมการพึ่งตนเองของประชาชน (Comprehensive care) 4: จัดระบบที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้เหมาะสม (Empowerment) 5: ระบบให้ดูแลผู้ป่วยหรือประชากรเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง (Continuity Care) 6: ประสาน และเชื่อมต่อการดูแล ทั้งภายในหน่วยบริการและกับหน่วยบริการอื่น (Coordination)

  17. ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ: กระบวนการดูแลรายบุคคลและครอบครัว 1. Good relationship 2. Holistic care 3. Clinical competency 4. Continuity 5. People participation & empowerment 6. Co-ordination

  18. การดูแลสุขภาพตามกลุ่มประชากร การดูแลสุขภาพตามกลุ่มประชากร • เฝ้าระวังสถานการณ์สุขภาพและความเสี่ยงของกลุ่มประชากรทุกกลุ่มตามที่จำแนก ครอบคลุม ทันสถานการณ์ ใช้วางแผนและดำเนินการ • มีฐานข้อมูลประชากรตามกลุ่มอายุ • ค้นหา และรู้จักประชากรกลุ่มด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ • ประมวล วิเคราะห์ • คัดกรองประชากรเป้าหมาย เพื่อค้นหาสภาพ ปัจจัยเสี่ยง เพื่อดูแลส่งต่อได้เหมาะสม ต่อเนื่อง • ดำเนินกิจกรรม แผนงาน/โครงการ/ระบบบริการ เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนา ลด ควบคุม ป้องกันความเสี่ยง ตามปัญหาและสถานการณ์ของประชากรกลุ่มสำคัญตามมาตรฐานวิชาการ ตามบริบท

  19. การสร้างกระบวนการเรียนรู้กับชุมชน • ความสัมพันธ์ที่ดีกับกลุ่มเป้าหมาย • รู้จักสภาพวิถีชีวิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อรู้สถานการณ์ชุมชน • กระบวนการที่ทำให้มีการเรียนรู้ด้านสุขภาพร่วมกับชุมชน • จัดการข้อมูล ความรู้ และทรัพยากรเพื่อการพัฒนางานร่วมกับชุมชน มีกระบวนการเรียนรู้ร่วม • มีกระบวนการสนับสนุนให้ชุมชน อปท. มีศักยภาพในการจัดการเพื่อพัฒนาสุขภาพของชุมชน อย่างสอดคล้อง ต่อเนื่อง

  20. ประเด็นหลักของการเยี่ยม ใน DHS_PCA • ดูการบริการ และการบริหารจัดการร่วมกันเป็น CUP และต่อกับภาคีเครือข่าย • สนใจในด้าน ที่ทำได้ดี เป็นระบบต่อเนื่องกัน ต่อโยงกันทั้งอำเภอ (อาจเป็นบางระบบ ก่อน ไม่ต้องทุกระบบ) • คุณภาพบริการ เน้นคุณค่า ที่ให้ความสัมพันธ์ กับ “Human-pt-population- community ” และการสอดคล้องกับบริบท • ความเชื่อมโยง สอดคล้อง ระหว่างระบบงานย่อย และหน่วยงานย่อย

  21. Input Process Output Impact ภายใน ภายนอก วิธีคิด ที่มา ที่ทำให้ทำ เห็นอะไร ?? พบอะไร Context Core Value คุณภาพ ความยั่งยืน ต่อเนื่อง คุณภาพ การเชื่อมโยงกับเป้า/องค์กร (Alignment) คุณภาพ ในแต่ละด้าน เทียบในมุมอย่างไร (Criteria)

  22. สถานการณ์ชุมชน - ทุน - ปัญหา(ช่องว่าง) - บริการที่มี / ได้รับ ชุมชน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ครอบครัว คน เครือข่ายชุมชน ภูมิปัญญา การจัดการ Context เสริมการพึ่งพาตนเองแก่ชุมชน บริการ: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู -Core Value -Criteria องค์กร รัฐ-ภาคี หน่วยบริการ ปฐมภูมิ อำเภอ – รพ. บริการร่วม และ สนับสนุน

  23. ประเด็น ที่ลงไปดู • ดูแนวคิด ความตั้งใจ ความพยายามทำงาน และมีส่วนร่วมกันพัฒนาการดูแลสุขภาพอย่างไร พร้อมกับ รูปธรรม บทเรียน • ดูว่าชุมชน มีบริบท มีทุน อย่างไร และได้รับบริการอย่างไร มีความต้องการอย่างไร ทั้งกลุ่มที่เป็นผู้ป่วย แกนนำ ครอบครัวผู้เกี่ยวข้อง • ดูว่าบริการที่ทำของหน่วยบริการ ต่อโยงกัน ทั้งในส่วน รพ. สสอ และ รพ.สต และดำเนินการตอบสนองต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน หรือไม่ อย่างไร • ประเด็นที่ทำได้ดี ทำได้อย่างไร มีความเสถียร และต่อเนื่อง หรือไม่

  24. เกณฑ์การให้คะแนนตามแนวทาง DHS_PCA โดยใช้UCARE

  25. ระดับการพัฒนาตามแนวDHS_PCAระดับการพัฒนาตามแนวDHS_PCA

  26. คะแนน DHS - PCA 3+ U = Unity Team 2.5 C = Customer Focus 2.5 – 3.0 C = Community Participation 3.5 A = Appreciation 2.5 R = Resource Sharing Sharing and Human Development 3.0 E = Essential Care

More Related