1 / 25

ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ)

แนวทางการนำเสนอ การขอจัดตั้งฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาเพิ่มใหม่ และ/หรือ การขอจัดตั้งโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพิ่มใหม่. ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ). สภาพโดยทั่วไปของโครงการ เช่น ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เศรษฐกิจ สังคม ภาพรวมของการบริหารจัดการน้ำของโครงการในปัจจุบัน ประกอบด้วย พื้นที่

Télécharger la présentation

ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการนำเสนอการขอจัดตั้งฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาเพิ่มใหม่ และ/หรือการขอจัดตั้งโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพิ่มใหม่

  2. ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ) • สภาพโดยทั่วไปของโครงการ เช่น ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เศรษฐกิจ สังคม • ภาพรวมของการบริหารจัดการน้ำของโครงการในปัจจุบัน ประกอบด้วย พื้นที่ รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ ปัญหา อุปสรรค ข้อจำกัด ความยุ่งยากและผลกระทบด้าน ลบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน • การแก้ไขปัญหาโดยการขอจัดตั้งฝ่ายส่งน้ำฯ และหรือโครงการส่งน้ำฯ เพิ่ม ใหม่ ทำให้เกิดประโยชน์อย่างไร สร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหาร จัดการอย่างไร (กรณีการขอเพิ่มฝ่ายส่งน้ำฯ โดยการแบ่งพื้นที่บางฝ่ายออก ต้อง ชี้แจงด้วยว่า เพราะเหตุใดจึงต้องแบ่งพื้นที่ดังกล่าวออก ส่วนพื้นที่ที่ไม่จำเป็นต้อง แบ่งออกโดยให้คงไว้ตามเดิม ต้องอธิบายด้วยว่าเพราะเหตุใด การดำเนินการใน ลักษณะดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีอย่างไร)

  3. ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ) 4. กรอบอัตรากำลังของโครงการในปัจจุบัน กรอบอัตรากำลังภายหลังการขอ จัดตั้งฝ่ายส่งน้ำฯ หรือโครงการส่งน้ำฯ เพิ่มใหม่ (ทั้งข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และ พนักงานราชการ) ทั้งนี้ จำนวน Power Point หลักสำหรับการนำเสนอ ไม่ควรเกิน 15 แผ่น ตามประเด็นที่กำหนดให้ การนำเสนอแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 20-30 นาที ส่วนข้อมูลโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวเลขต่างๆ ขอให้ตรวจสอบความถูกต้อง ให้ชัดเจน เช่น จำนวนพื้นที่ชลประทาน และจำนวนพื้นที่รับผิดชอบ เป็นต้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดด้านข้อมูล

  4. ประเด็นที่ต้องนำเสนอ (ตามสภาพโครงการ) เพื่อให้เกิดความชัดเจน สะดวกต่อการพิจารณาของคณะทำงานฯ โครงการ ควรนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของ - แผนที่ (สำหรับการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ) - กราฟ-ตารางเปรียบเทียบ (สำหรับข้อมูลตัวเลขที่แสดงให้เห็นความต่าง ข้อดี-ข้อเสีย) - แผนภูมิ (สำหรับข้อมูลตัวเลขที่แสดงให้เห็นความต่าง ข้อดี-ข้อเสีย) - แผนผัง (สำหรับกรอบอัตรากำลัง) ทั้งนี้ การใช้รูปแบบใดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูลตามที่โครงการจะ พิจารณาจัดทำ

  5. ตัวอย่างการนำเสนอผลงานตัวอย่างการนำเสนอผลงาน

  6. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ • มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย • แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 24 อำเภอ • สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,027 ฟุต หรือ 310 เมตร • ระยะทางห่างจากกรุงเทพประมาณ 720 กม.

  7. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ สภาพภูมิประเทศและการใช้พื้นที่ 69.93% พื้นที่ป่าและภูเขา 8,787,656 ไร่ พื้นที่การเกษตร 1,611,283 ไร่ 17.25% 12.82% พื้นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ 2,167,971 ไร่

  8. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ สภาพเศรษฐกิจและสังคม • มีประชากร ทั้งสิ้น 1,666,024 คน (ข้อมูล ปี 2552) • ชาย 814,958 คน หญิง 851,066 คน ความหนาแน่นเฉลี่ย 83 คนต่อ ตร.กม. • ครัวเรือนจำนวน 537,510 ครัวเรือน • ชุมชนบนพื้นที่สูงกระจายอยู่ตามอำเภอต่างๆ รวม 1,310 หมู่บ้าน ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มชนต่างๆ จำนวน 13 เผ่า คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.2 ของจำนวนประชากรทั้งหมด • อัตราการขยายตัวของประชากรเพิ่มขึ้นอีก 20 ปีข้างหน้า 0.62 % ต่อปี

  9. ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ สภาพเศรษฐกิจและสังคม • ร้อยละ 41 ของประชากรทั้งหมด ประกอบอาชีพภาคการเกษตร • ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) มีมูลค่า 120,972 ล้านบาท • ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตร (ปี 2552) เท่ากับ 13,151 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งจังหวัด ความสำคัญเป็นลำดับที่ 3 รองจากสาขาบริการ และอุตสาหกรรม ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 23 และ 17 ตามลำดับ • รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากรเท่ากับ 63,770 บาท/ปี ในขณะที่รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากรเกษตรเท่ากับ 12,620 บาท หรือ 49,091 บาท/ครัวเรือน ที่มา : คณะกรรมการคณะทำงานจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัด (GPP)

  10. แม่น้ำกก น้ำฝาง น้ำแม่แตง น้ำแม่งัด น้ำแม่ริม น้ำแม่กวง น้ำแม่ขาน น้ำแม่กลาง แม่น้ำปิง น้ำแม่แจ่ม น้ำแม่หาด น้ำแม่ตื่น ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเชียงใหม่ ลุ่มน้ำสาขาในจังหวัดเชียงใหม่ แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำปิง น้ำแม่แตง น้ำแม่งัด น้ำแม่กวง น้ำแม่ริม น้ำแม่ขาน น้ำแม่กลาง น้ำแม่แจ่ม น้ำแม่หาด น้ำแม่ตื่น น้ำกก น้ำฝาง มีห้วย ลำธาร คลอง 2,119 สาย ปริมาณน้ำท่ารวม 4,860 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณฝนโดยเฉลี่ย 1,220 มม./ปี

  11. ข้อมูลโครงการชลประทานเชียงใหม่ข้อมูลโครงการชลประทานเชียงใหม่ ตารางแสดงประเภทของโครงการและพื้นที่รับประโยชน์ ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานเชียงใหม่

  12. ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา การแบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา(เดิม) จำนวน 6 ฝ่าย ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1รับผิดชอบเขต อ.เมือง , สารภี, สันทราย, ดอยสะเก็ดสันกำแพง และ อ.แม่ออน รวม 6 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 73 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2รับผิดชอบเขต อ.แม่แตง , แม่ริม และ อ.พร้าว รวม 3 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 88 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3รับผิดชอบเขต อ.เชียงดาว , เวียงแหง , ไชยปราการ , อ.ฝาง และ อ.แม่อาย รวม 5 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 205 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4รับผิดชอบเขต อ.แม่แจ่ม และ อ.สะเมิง รวม 2 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 139 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 5รับผิดชอบเขต อ.หางดง , แม่วาง ,สันป่าตอง , จอมทอง , อ.ฮอดและ อ.ดอยหล่อ รวม 6 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 131 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 6รับผิดชอบเขต อ.ดอยเต่า และ อ.อมก๋อย รวม 2 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 63 โครงการ หมายเหตุ – ไม่รวมโครงการชลประทานราษฏร์ และสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า

  13. ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา การแบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา(ใหม่) จำนวน 8 ฝ่าย ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1รับผิดชอบเขต อ.เมือง , สารภี , หางดง และ อ.สะเมิง รวม 4 อำเภอจำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 83 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2รับผิดชอบเขต อ.สันกำแพง ,แม่ออน ,ดอยสะเก็ด และสันทราย รวม 4 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 50 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3รับผิดชอบเขต อ.แม่ริม , แม่แตง และ อ.พร้าว รวม 3 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 88 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4รับผิดชอบเขต อ.ไชยปราการ , ฝาง และ อ.แม่อาย รวม 3 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 112 โครงการ

  14. ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 5 รับผิดชอบเขต อ.เชียงดาว และ อ.เวียงแหง รวม 2 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 93 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 6 รับผิดชอบเขต อ.แม่แจ่ม , แม่วาง และ อ.สันป่าตอง รวม 3 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 136 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 7 รับผิดชอบเขต อ.ดอยหล่อ , จอมทอง และ อ.ฮอด รวม 3 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 74 โครงการ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 8 รับผิดชอบเขต อ.ดอยเต่า และ อ.อมก๋อย รวม 2 อำเภอ จำนวนโครงการที่รับผิดชอบ 63 โครงการ หมายเหตุ – ไม่รวมโครงการชลประทานราษฏร์ และสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า

  15. ค่าเฉลี่ย = 116.50 ค่าเฉลี่ย = 87.40 จำนวนโครงการที่รับผิดชอบกับการแบ่งฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา

  16. โครงการหลวงที่รับผิดชอบจำนวนทั้งสิ้น 26 โครงการ

  17. ค่าเฉลี่ย = 5.2 ค่าเฉลี่ย = 3.7 โครงการหลวงที่รับผิดชอบ

  18. กลุ่มผู้ใช้น้ำ กลุ่มผู้ใช้น้ำที่อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา

  19. ค่าเฉลี่ย = 47.00 ค่าเฉลี่ย = 35.00 กลุ่มผู้ใช้น้ำ จำนวนกลุ่มที่รับผิดชอบของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา

  20. อัตรากำลังฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาโครงการชลประทานเชียงใหม่ (ใหม่) ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1 ข้าราชการ 2 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 2 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 2 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 2 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 3 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 5 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 3 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 6 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 3 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 7 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 2 อัตรา ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 8 ข้าราชการ 1 อัตรา ลูกจ้างประจำ 2 อัตรา พนักงานราชการ 3 อัตรา การจัดอัตรากำลัง สรุป จำนวนอัตรากำลังข้าราชการ 9 คน ลูกจ้างประจำ 16 คน พนักงานราชการ 20 คน การขอปรับเพิ่มฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ใช้อัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างประจำภายในโครงการฯทั้งหมดโดยใช้การปรับเกลี่ยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปริมาณงานที่รับผิดชอบ พนักงานราชการเดิมมีอยู่จำนวน 1 อัตรา จะขอเพิ่มจำนวน 19 อัตรา

  21. การบริหารจัดการลุ่มน้ำกับขอบเขตฝ่ายส่งน้ำฯใหม่การบริหารจัดการลุ่มน้ำกับขอบเขตฝ่ายส่งน้ำฯใหม่ แม่น้ำกก น้ำฝาง น้ำแม่แตง น้ำแม่งัด น้ำแม่ริม น้ำแม่กวง น้ำแม่ขาน น้ำแม่กลาง แม่น้ำปิง น้ำแม่แจ่ม น้ำแม่หาด น้ำแม่ตื่น

  22. ระยะทางจากที่ทำการฝ่ายส่งน้ำฯ ถึงเขตพื้นที่รับผิดชอบ

  23. ระยะทางในการเข้าไปดูแลพื้นที่รับผิดชอบ (ก่อน – หลัง)

  24. ผลที่ได้รับจากการปรับฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาผลที่ได้รับจากการปรับฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา

  25. ผลที่ได้รับจากการปรับฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาผลที่ได้รับจากการปรับฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา

More Related