1 / 28

หัวข้อการนำเสนอ

โครงการ “สมุทรปราการ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town )” ประจำปีงบประมาณ พ . ศ . 2557. หัวข้อการนำเสนอ. ชื่อโครงการ กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ หน่วยให้คำปรึกษา / หน่วยงานวิจัย ระยะเวลาโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ.

Télécharger la présentation

หัวข้อการนำเสนอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ “สมุทรปราการ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town)”ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ชื่อโครงการ • กลุ่มเป้าหมาย • หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ • หน่วยให้คำปรึกษา/หน่วยงานวิจัย • ระยะเวลาโครงการ • หลักการและเหตุผล • วัตถุประสงค์ของโครงการ • เป้าหมายกิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ • ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด (ด้านเศรษฐกิจ) • ทฤษฎี แนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ • แนวทางการดำเนินงาน • ขอบข่ายของโครงการ • กรอบการดำเนินการ • แผนการดำเนินโครงการ (GANTT CHART) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  3. 1. ชื่อโครงการ โครงการ “สมุทรปราการ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town)” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2557 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  4. 2. กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : • ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม • พนักงาน ลูกจ้างในสถานประกอบการ • หน่วยงานภาครัฐและเอกชน • ประชาชนในพื้นที่ • ผู้นำชุมชน กลุ่มเป้าหมาย : • โรงงานอุตสาหกรรมเขตเทศบาลตำบลบางปู • ประชาชนในพื้นที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  5. 3. หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ เลขที่ 414 หมู่ 4 ถนนสุขุมวิท กม.52 ตำบลบางปู อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย์ 10280โทรศัพท์ 02-707-7641-5, โทรสาร 02-707-7647 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  6. 4. หน่วยให้คำปรึกษา/หน่วยงานวิจัย คณะวิศวกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2410/2 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท์ 02-5791111 ต่อ 1315, โทรสาร 02-5791111 ต่อ 2147 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  7. 5. ระยะเวลาโครงการ • ระยะเวลา:240 วัน (มิถุนายน-กุมภาพันธ์ 2557) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  8. 6.หลักการและเหตุผล • จังหวัดสมุทรปราการ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดของประเทศ โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 7,500 โรงงาน วิสัยทัศน์ของจังหวัด จึงมุ่งสู่คำว่า เมืองอุตสาหกรรมน่าอยู่ แต่สภาพการแข่งขันที่รุนแรงการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเน้นในด้านการลดต้นทุนการผลิต เพื่อสามารถแย่งชิงส่วนแบ่งทางการตลาดและความอยู่รอดของธุรกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  9. 6.หลักการและเหตุผล • ปัญหาที่ตามมา คือ ปัญหาการไม่นำพาต่อผลกระทบจากการผลิตที่มีต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ในปี 2558ซึ่งเป็นปีที่ 10ชาติ ของประเทศอาเซียน รวมตัวกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ส่งผลให้การค้าเปิดกว้างในขณะที่การแข่งขันสูงขึ้นการลงทุนเพื่อสังคมกลับลดลง ภาครัฐจำเป็นต้องลงมากำกับดูแล อย่างใกล้ชิด หน่วยงานภายในจังหวัดที่รับผิดชอบโดยตรงและโดยอ้อม ไม่สามารถที่จะมากำกับดูแล แก้ไข ได้อย่างทั่วถึง แต่สิ่งหนึ่งที่จะต้องดำเนินการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ หรือวิสัยทัศน์ที่วางไว้ของจังหวัดคือการร่วมสร้างเมืองเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ (Eco town) 9 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  10. 6.หลักการและเหตุผล • การดำเนินการเพื่อให้เกิดเมืองเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ ต้องคำนึงถึงทั้งสองภาค คือ ภาคอุตสาหกรรม และภาคชุมชน ที่ต้องทำให้เกิดความชัดเจน และความสำคัญในเรื่องนี้ รัฐบาลได้นำมาเป็นนโยบายในการบริหารงานประเทศ โดยได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 21สิงหาคม 2554ถึงนโยบายเศรษฐกิจ (นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ / ภาคอุตสาหกรรม) โดยเน้นการเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้ 10 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  11. 6.หลักการและเหตุผล • ปัญหาที่ตามมา คือ ปัญหาการไม่นำพาต่อผลกระทบจากการผลิตที่มีต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ในปี 2558 ซึ่งเป็นปีที่ 10 ชาติ ของประเทศอาเซียน รวมตัวกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ส่งผลให้การค้าเปิดกว้าง ในขณะที่การแข่งขันสูงขึ้นการลงทุนเพื่อสังคมกลับลดลงภาครัฐจำเป็นต้องลงมากำกับดูแล อย่างใกล้ชิด หน่วยงานภายในจังหวัดที่รับผิดชอบโดยตรงและโดยอ้อม ไม่สามารถที่จะมากำกับดูแล แก้ไข ได้อย่างทั่วถึง แต่สิ่งหนึ่งที่จะต้องดำเนินการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ หรือวิสัยทัศน์ที่วางไว้ของจังหวัดคือการร่วมสร้างเมืองเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ (Eco town) 11 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  12. 6.หลักการและเหตุผล • เขตเทศบาลตำบล บางปูเป็นพื้นที่สำคัญทางเศรษฐกิจแห่งหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการ • มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 63.50 ตารางกิโลเมตร รับผิดชอบใน 4 ตำบล • มีประชากรรวม117,734 คน จำนวน 48,485 หลังคาเรือน รายได้เฉลี่ยของประชากร 59,909 บาท/คน/ปี โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนทั้งสิ้น 428 โรงงาน • มีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ จำนวน 4 แห่ง • โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลบางปูใหม่ และบางปู เป็นหลัก นอกนั้นตั้งอยู่ตำบลท้ายบ้าน และตำบลท้ายบ้านใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  13. 6.หลักการและเหตุผล • พื้นที่เศรษฐกิจแห่งนี้ (ต.บางปู, ต.บางปูใหม่, ต.ท้ายบ้าน, ต.ท้ายบ้านใหม่ เป็นพื้นที่ที่น่าสนใจ เหมาะสำหรับการจัดทำเมืองต้นแบบทางเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ Eco-town เพราะมีโรงงานและชุมชนอยู่ การพัฒนาพื้นที่สามารถทำได้ค่อนข้างชัดเจน สีแดง คือ จุดบำบัดน้ำเสีย สีเขียว คือ บ่อขยะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  14. 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ 7.1 เพื่อสร้างต้นแบบของเมืองเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ Eco-town ในพื้นที่ของจังหวัดสมุทรปราการ 7.2 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการและชุมชนในพื้นที่เป้าหมายโดยใช้กิจกรรมสร้างเมืองเป็นตัวเชื่อม เพื่อการแก้ไขปัญหาของการอยู่ร่วมกันระหว่างโรงงาน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 7.3 เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้วิธีการและขั้นตอนในการทำเมืองเศรษฐกิจเชิงนิเวศน์ Eco-town เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาแหล่งอื่นๆ ต่อไป คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  15. 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ 7.4 เพื่อเป็นการจัดทำโครงการที่สนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และวิสัยทัศน์เมืองอุตสาหกรรมน่าอยู่ของจังหวัดสมุทรปราการ 7.5 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดในการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และหลีกเลี่ยงเงื่อนไขทางการค้า ที่อาจเกิดหลังการรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 7.6 เพื่อเป็นการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ในจังหวัดในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของจังหวัดและประเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  16. 8. เป้าหมายกิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 8.1 เป้าหมายโครงการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  17. 8. เป้าหมายกิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 8.2 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) เชิงคุณภาพ : • โรงงานกลุ่มอุตสาหกรรมและชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย มีความเข้าใจเกี่ยวกับอุตสาหรรมเชิงนิเวศ ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เชิงปริมาณ : • ร้อยละของจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเบื้องต้นร้อยละ 30 • จำนวนแผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมายจำนวน 1 แผน • จำนวนของประชาชนในพื้นที่ที่มีส่วนร่วมจำนวน 300คน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  18. 8. เป้าหมายกิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 8.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) • สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความเข้าใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และเกิดแผนแม่บทในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมาย • ชุมชนและสถานประกอบการในพื้นที่เป้าหมายมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่เป้าหมาย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  19. 9. ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด (ด้านเศรษฐกิจ) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจพื้นฐาน เพื่อยกระดับรายได้ พัฒนาการค้าและการท่องเที่ยว และบริการของจังหวัด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  20. อุตสาหกรรมทั่วไป 10. ทฤษฎี แนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์   การจัดหาวัตถุดิบ สินค้าผลิตภัณฑ์ และของเสีย วัตถุดิบ   ปล่อย ของเสีย สู่ภายนอก สินค้า/ ผลิตภัณฑ์ การ ปลดปล่อย ของเสียเป็นศูนย์   รีไซเคิล ใช้ซ้ำ   โรงงานบำบัด ของเสีย โรงงานกำจัดของเสีย เป็นศูนย์ ผลตอบแทน ของผู้ประกอบการสูงขึ้น ปริมาณ ของเสียลดลง ผลตอบแทน ของผู้ประกอบการ ปริมาณ ของเสียมาก ภาพลักษณ์ องค์กร ภาพลักษณ์ องค์กร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  21. 10. ทฤษฎี แนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  22. 10. ทฤษฎี แนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  23. 10. ทฤษฎี แนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ มีทำเลที่ตั้งสอดคล้องกับผังเมืองและมีการวางผังการใช้ประโยชน์พื้นที่กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม คุ้มค่าในการผลิต และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ผู้ประกอบกิจการ และชุมชนอย่างมั่นคง การบริหารจัดการในพื้นที่อย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พนักงานในพื้นที่และชุมชนโดยรวมมีคุณภาพชีวิต และสังคมที่น่าอยู่ มีการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดและป้องกันมลพิษใช้ทรัพยากร และพลังงานอย่างคุ้มค่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  24. 11. แนวทางการดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ ACTION PLAN กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนาทำความเข้าใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กิจกรรมที่ 6 การจัดกิจกรรมเผยแพร่ผลการดำเนินงาน A P DO C D CHECK กิจกรรมที่ 2 การคัดเลือก/กำหนดพื้นที่เป้าหมายที่จะพัฒนาเป็น ECO TOWN กิจกรรมที่ 3 การรับสมัครและคัดเลือกโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมที่ 4 การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กิจกรรมที่ 5 การจัดกิจกรรมการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ด้าน ECO TOWN กับต่างประเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  25. 12. ขอบข่ายของโครงการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  26. 13. รายละเอียดวิธีการดำเนินงานตามข้อกำหนดขอบเขตงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  27. 14. แผนการดำเนินโครงการ (GANTT CHART) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  28. 14. แผนการดำเนินโครงการ (GANTT CHART) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

More Related