1 / 58

HARDWARE

HARDWARE. ฮาร์ดแวร์. หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสัมผัสและมองเห็น. องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์. หมายถึง องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ แบ่งเป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

Télécharger la présentation

HARDWARE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. HARDWARE

  2. ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสัมผัสและมองเห็น

  3. องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์ หมายถึง องค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ แบ่งเป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้ • หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) • หน่วยความจำ (Memory Unit) • หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU) • หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) • หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit)

  4. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

  5. เช่น • แป้นพิมพ์ สำหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง ๆ • เมาส์สำหรับคลิกสั่งงานโปรแกรม • สแกนเนอร์สำหรับสแกนรูปภาพ • จอยสติ๊ก สำหรับเล่นเกมส์ • ไมโครโฟนสำหรับพูดอัดเสียง และ • กล้องดิจิตอลสำหรับถ่ายภาพ และนำเข้าไปเก็บไว้ ในดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำไปใช้งานต่อไป

  6. รายละเอียดของแต่ละชนิดรายละเอียดของแต่ละชนิด • อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) ได้แก่

  7. แป้นพิมพ์ (Keyboard) • แป้นอักขระ (Charater Keys) • แป้นควบคุม (Control Keys) • แป้นฟังก์ชั่น (Function Keys) • แป้นตัวเลข (Numeric Keys)

  8. 2) อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง (Pointing Devices) ได้แก่ • เมาส์ (Mouse)

  9. ลูกกลมควบคุม(Track ball), แท่งชี้ควบคุม(Track point), แผ่นรองสัมผัส (Touch pad)

  10. จอยสติก (Joystick)

  11. จอภาพระบบไวต่อการสัมผัสจอภาพระบบไวต่อการสัมผัส (Touch-Sensitive Screen)ได้แก่ • จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) พบมากใน : ร้านอาหารเร่งด่วน,แสดงข้อมูลการท่องเที่ยว

  12. ปากกาแสง (Light pen) 4) ระบบปากกา (Pen-Based System) ได้แก่ นิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided Design ) รวมทั้งนิยมให้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลโดยการเขียนด้วยมือในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น

  13. เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet) เป็นกระดาษที่มีเส้นแบ่ง ซึ่งใช้ปากกาเฉพาะเรียกว่าStylusชี้ไปบนกระดาษเพื่อส่งข้อมูล นิยมใช้กับงานด้าน CAD เช่น ใช้ในการออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ตึกอาคาร อุปกรณ์ทางการแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น

  14. (ก) อุปกรณ์ปากกาแสง (ข) เครื่องอ่านพิกัด

  15. อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Data Scanning Devices) ได้แก่ • เอ็มไอซีอาร์ (MICR) • ข้อดีของเครื่อง คือ • มีมนุษย์เข้ามาเกี่ยวข้องน้อย ทำให้มีเปอร์เซนต์ความผิดพลาดต่ำมาก • รหัส MICR ที่ใช้สามารถอ่านได้ทั้งคนและเครื่อง MICR • ทำงานได้อย่างอัตโนมัติ รวดเร็วและเชื่อถือได้

  16. เครื่องอ่านรหัสบาร์โค๊ด (Bar Code Reader) ใช้ อ่านข้อมูลบนแถบบาร์โค้ดเพื่อเรียกข้อมูลของสินค้านั้น ๆ นิยมใช้ใน……………………………………………………….

  17. สแกนเนอร์ (Scanner) ใช้อ่านหรือแสกนข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ สแกนเนอร์มือถือ (Handheld scanner) สแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ (sheetfed scanner) สแกนเนอร์แบบแท่น (flatbed scanner)

  18. สแกนเนอร์มือถือ (ข) สแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ • (ค) สแกนเนอร์แบบแทน (ง) สแกนเนอร์บวกแป้นพิมพ์

  19. เครื่องรู้จำอักขระด้วยแสง (Optical Character Recognition - OCR) นิยมใช้ในงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บเอกสารจำนวนมาก เช่น ห้องสมุดต่าง ๆ ที่ต้องมีการจัดเก็บหนังสือเข้าสู่ไมโครฟิล์ม หรืออุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เป็นต้น

  20. เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical Mark Reader-OMR) โอเอ็มอาร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักการอ่านสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายที่ระบายด้วยดินสอดำลงในตำแหน่งที่กำหนด ตัวอย่างเช่น ข้อสอบแบบเลือกคำตอบ เป็นต้น

  21. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera) กล้องถ่ายภาพดิจิตอลและหน่วยความจำแฟลซ กล้องถ่ายทอดวีดีโอแบบดิจิตอล

  22. 6) อุปกรณ์รู้จำเสียง (Voice Recognition Device)ได้แก่ • อุปกรณ์วิเคราะห์เสียงพูด (Speech Recognition Device) เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาโดยนักคอมพิวเตอร์และนักภาษาศาสตร์ เพื่อใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูด และแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล เก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์

  23. หน่วยความจำหลัก (Memory Unit) หน่วยความจำ (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจำข้อมูล ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งได้ 2 ประเภทได้แก่

  24. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory) นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า รอม (ROM) คือหน่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่ง ที่ใช้ในการเริ่มต้นการทำงานหรือชุดคำสั่ง ที่สำคัญ ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น

  25. PROM (Programmable Read-Only Memory) สามารถบันทึกด้วยเครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไขไม่ได้ • EPROM (Erasable PROM) ใช้แสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนข้อมูล สามารถนำออกจากคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้ • EEPROM (Electrically Erasable PROM) เป็นชิปที่ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงและสามารถเขียน แก้ไขหรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ได้ด้วยโปรแกรมพิเศษ โดยไม่ต้องถอดออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์

  26. 2) หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory) เรียกสั้น ๆ ว่า แรม (Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูง ซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้โปรเซสเซอร์ก็จะทำงานไม่ได้เลย เช่น

  27. DRAM (Dynamic RAM) ข้อดี : ที่ราคาต่ำ ข้อเสียคือ : มีความเร็วไม่สูงนักเนื่องจากต้องมีการรีเฟรชข้อมูล อยู่ตลอดเวลา • SRAM (Static RAM) ข้อดี : เป็นหน่วยความจำที่มีความเร็วสูง พลังงานที่ SRAM ใช้จะน้อยมาก โดยสามารถใช้พลังงานถ่านนาฬิกาในการ ทำงานได้ถึงหนึ่งปี ข้อเสียคือ : ราคาสูง

  28. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าไมโครโปรเซสเซอร์ซึ่งเป็นชิปที่ทำจากซิลิกอน ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 หน่วยคือ

  29. 1. หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ เช่น • ควบคุมการทำงานของความจำหลัก • หน่วยรับข้อมูล • หน่วยคำนวณและตรรกะ • หน่วยแสดงผล และที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ

  30. การทำงานเปรียบเสมือนศูนย์กลางระบบประสาท โดยที่…… หน่วยควบคุมและซีพียูจะรับรู้คำสั่งต่าง ๆ ในรูปของคำสั่งภาษาเครื่องเท่านั้น

  31. 2) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า เอแอลยู (ALU) ทำหน้าที่ประมวลผลการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนการเปรียบเทียบทางตรรกะทั้งหมด

  32. การทำงานในซีพียูมี รีจิสเตอร์ (Register)คอยทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลหรือคำสั่งที่ถูกนำเข้ามาปฏิบัติการภายในซีพียู บัส (Bus) เป็นเส้นทางในการส่งผ่านสัญญาณไฟฟ้าของหน่วยต่าง ๆ ภายในระบบ โดยคอมพิวเตอร์ที่ต่างระบบกันมีการออกแบบบัสต่างกัน

  33. หน่วยแสดงผล สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่ • หน่วยแสดงผลชั่วคราว หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้ทราบในขณะนั้น เมื่อเลิกทำงานผลนั้นก็จะหายไปแต่ถ้าต้องการเก็บสามารถส่งไปยังหน่วยเก็บข้อมูลสำรองได้ ประกอบด้วย

  34. จอภาพ ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที มีรูปร่างคล้ายจอภาพของโทรทัศน์ บนจอภาพประกอบด้วย จุดจำนวนมากมายซึ่งเรียกว่า……….. เช่น

  35. จอซีอาร์ที (CRT) นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากในปัจจุบัน ใช้หลักการยิงแสงผ่านหลอดภาพคล้ายกับโทรทัศน์

  36. จอแอลซีดี (LCD) Passive Matrix Active Matrix นิยมใช้เป็นจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา

  37. ความละเอียดของจอภาพ อดีต จอภาพมีสีขาวดำ หรือ เขียวดำ ซึ่งเรียกว่า จอโมโนโครม ปัจจุบัน นิยมจอภาพมีสีแบบ (Super VGA) สำหรับจอภาพที่มีความละเอียดต่ำ 800x600 พิกเซล สำหรับจอภาพที่มีความละเอียดสูง 1024x768, 1600x1200 พิกเซล

  38. ขนาดจอภาพในปัจจุบัน จอภาพที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีขนาด 14 นิ้ว 15 นิ้ว และ 17 นิ้ว ส่วนจอภาพซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านี้จะนิยมใช้กับงานที่เน้นกราฟฟิก เช่น งานออกแบบ (CAD/CAM) เป็นต้น

  39. ข) อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) อุปกรณ์ฉายภาพจะมีข้อแตกต่างกันมากในเรื่องของกำลังส่องสว่าง เนื่องจากยิ่งมีกำลังส่องสว่างสูง ภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากขึ้น

  40. ค) อุปกรณ์เสียง (Audio Output) ลำโพง (speaker)และ การ์ดเสียง (sound card)

  41. 2. หน่วยแสดงผลถาวร หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมา ในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น

  42. เครื่องพิมพ์ (Printer) • เครื่องพิมพ์แบบใช้แรงกระแทก (Impact Printer)เป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบที่ใช้การตอกหัวพิมพ์ลงไปบนผ้าหมึกแล้วผ้าหมึกไปกดลงบนกระดาษ คล้ายเครื่องพิมพ์ดีด แบ่งออกเป็น • แบบดอทแมทริกซ์ (Dot Matrix Printers) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้หัวเข็มในการกระแทรกผ้าหมึก เพื่อให้เกิดจุรวมกันเป็นหนึ่งตัวอักษร มีแบบ 9 พิน หรือแบบ 24 พิน มีราคาถูก ทนทาน ง่ายต่อการบำรุงรักษา

  43. เครื่องพิมพ์ (Printer) แบบบรรทัด (Line Printers) มีลักษณะการทำงานคล้ายกับดอทแมทริกซ์ แต่พิมพ์เป็นบรรทัด ไม่เน้นความละเอียดแต่เน้นที่ความเร็วในการพิมพ์

  44. เครื่องพิมพ์ (Printer) • เครื่องพิมพ์ชนิดไม่ตอก(Nonimpact Printer) การพิมพ์ไม่สัมผัสกับกระดาษโดยตรงแต่ใช้วิธีการทางเคมีในการพิมพ์ แบ่งออกเป็น - แบบอิงค์เจ็ต (Ink-Jet Printers) ใช้หลักการพ่นหมึก พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและรูปภาพ มีความละเอียดสูง มีราคาถูก แต่ตลับน้ำหมึกมีราคาสูง

  45. เครื่องพิมพ์ (Printer) - แบบเลเซอร์ (Laser Printer) มีความคมชัด และมีความรวดเร็ว การทำงานคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร หมึกที่ใช้จะเป็นผงหมึก ใช้พิมพ์เอกสารทั่วไปมีราคาแพง

  46. ข) เครื่องพลอตเตอร์(Plotler) ใช้วาดหรือเขียนภาพสำหรับงานที่ต้องการความละเอียดสูง ๆ นิยมใช้กับงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม

  47. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง(Secondary Storage Unit) • เทป (Tape)

  48. เทปแม่เหล็ก (Megnetic Tape) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งและยุคที่สอง ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทปแม่เหล็กมีหลักการทำงานคล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยนจากการเล่น (play) และบันทึก (record) เป็นการอ่าน (read) และเขียน (write) แทน

  49. จานแม่เหล็ก (Megnetic Disk) จานแม่เหล็กสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก และมีคุณสมบัติในการ เข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) ไม่จำเป็นต้องอ่านไปตามลำดับเหมือนเทป จานแม่เหล็กจะต้องใช้คู่กับ ตัวขับจานแม่เหล็ก หรือดิสก์ไดรฟ์ (disk drive)

  50. ฮาร์ดดิสก์ มีหลักการทำงานคล้ายกับฟลอปปีดิสก์ แต่ฮาร์ดดิสก์ทำมาจากแผ่นโลหะแข็ง เรียกว่า plattersทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากและทำงานได้รวดเร็ว สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ 1 จิกะไบต์ขึ้นไป

More Related