1 / 21

การใช้และเบิกวัคซีน เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค

การใช้และเบิกวัคซีน เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค. ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป. การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค. ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด. ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุม

stan
Télécharger la présentation

การใช้และเบิกวัคซีน เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้และเบิกวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคการใช้และเบิกวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป

  2. การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคการใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค • ระยะก่อนเกิดโรค • ระยะที่มีการระบาด

  3. ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมตรวจสอบประวัติและความครอบคลุม • ติดตามเด็กที่พลาดการได้รับวัคซีนให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด(Follow up/Catch-up) ในพื้นที่ที่สามารถดำเนินการได้ง่าย • รณรงค์ให้วัคซีนเสริม (SIA) แก่เด็กกลุ่มเสี่ยงสูง(เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส และ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ) • ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • เด็กในพื้นที่รับผิดชอบ • เด็กกลุ่มเสี่ยงสูง ระยะก่อนเกิดโรค ก่อนเกิดโรค

  4. ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาสเด็กอายุครบ 1 ปี OPV3 เกณฑ์กำหนด > 90% MMR เกณฑ์กำหนด > 95% (รวมถึงความครอบคลุม MMR ในนักเรียนชั้น ป. 1) ระยะก่อนเกิดโรค

  5. ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในพื้นที่ที่ระบาดตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในพื้นที่ที่ระบาด • เด็กก่อนวัยเรียน • เด็กนักเรียน • ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ/ป่วย ระยะเกิดการระบาด พบผู้ป่วยสงสัย โรคโปลิโอ1 รายขึ้นไป ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกัน พบผู้ป่วยสงสัย โรคหัด2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกัน เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว

  6. ติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันทีติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที กรณีพบผู้ป่วย AFP หรือสงสัยโรคโปลิโอ (อายุต่ำกว่า 15 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV3 > 90% < 90% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ • รีบให้ OPV แก่เด็กทุกคน อายุเท่ากับหรือน้อยกว่าผู้ป่วย ในตำบลที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก กรณียืนยันเป็นโปลิโอ ให้ทำการรณรงค์ให้วัคซีนทั้งจังหวัด และในพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา

  7. ติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันทีติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที กรณีหัดระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุ<7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ  รีบให้ MMR แก่เด็ก >9 เดือน – 6 ปีทุกคนในหมู่บ้าน+หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน ให้แยกเลี้ยงไม่ให้คลุกคลีกับผู้ป่วย

  8. เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค กรณีหัดระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ได้รับ • รีบให้ MMR • ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ไม่ต้องให้ MMR

  9. กรณีหัดระบาดในผู้ใหญ่กรณีหัดระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ 2533 ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นกับผลการสอบสวนและแบบประเมินฯ ตรวจสอบการได้รับ MMRเมื่อเข้า ป.1 เคยได้รับ ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ > 2 % • ให้ MMR • ควรให้แล้วเสร็จภายใน72ชม. หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก • ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR • ให้ MMRเฉพาะกลุ่มอายุ>2% • ควรให้แล้วเสร็จภายใน72 ชม.หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก • ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR

  10. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น • การระบาดของโรค............................................... • สถานที่พบผู้ป่วย................................ • ตำบล.............................................. • อำเภอ............................................. • จังหวัด............................................ • วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก......../......../......... • วันที่พบผู้ป่วยรายแรก.........../.........../............

  11. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2) อัตราป่วยจำแนกรายกลุ่มอายุ

  12. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3) • จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก.................................ขวด • วันที่เริ่มให้วัคซีน............./................/................... • ผู้ให้ข้อมูล............................................................. • สถานที่ทำงาน........................................................ • เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน......................................... • เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่......................................... • วันที่ส่งแบบประเมิน............/.................../..............

  13. การจัดหาและกระจายวัคซีน(ก่อนและหลังปี 2552) 13

  14. บทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีนบทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีน (ปี 2553 ถึงปัจจุบัน) วัคซีนพื้นฐาน (EPI Routine & EPI นักเรียน) วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง Rabies vaccines สปสช. วัคซีนในการกำจัดกวาดล้าง โรคหัดและโปลิโอ ตามพันธะสัญญานานาชาติ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากร กลุ่มเสี่ยง วัคซีน ผู้เดินทางไปต่างประเทศ กรมคร.

  15. การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด • ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีนMMR2 ครั้ง ในเด็กอายุ 9-12 เดือน และเด็กชั้น ป.1 แล้ว ผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำให้ใช้วัคซีน MMRในโครงการกำจัดโรคหัด • กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป จึงจัดหาวัคซีน MMRชนิด multiple dose(10 โด๊ส/ขวด) ซึ่งมีไวรัสคางทูมสายพันธุ์ Urabe

  16. แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1)แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1) กรมควบคุมโรค และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรื่อง บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในวันที่ 23 มิถุนายน 2554ที่ประชุมมีมติให้ • กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีน OPVและMMRในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ ทุกกรณีที่ไม่ใช่การให้วัคซีนตามระบบปกติ(EPI routine)

  17. แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2)แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2) สปสช. รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีนอื่นที่ใช้ในEPI routine(ยกเว้น OPV และ MMR) • เพื่อรณรงค์เก็บตกให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน/ เด็กวัยเรียนที่ไม่ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ • เพื่อรณรงค์ให้วัคซีนเสริมแก่เด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน หรือ ในกลุ่มเสี่ยงสูง • เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดต่ออื่น เช่น โรคคอตีบ (DTP-HB, DTP, dT) สสจ. ส่งหนังสือขอเบิกไปยัง “สำนักโรคติดต่อทั่วไป” เพื่อพิจารณาก่อนแจ้งให้ “สปสช.สนับสนุนวัคซีน”

  18. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน (1) สสจ. มีหนังสือขอเบิกวัคซีนไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยมีรายละเอียดดังนี้  เหตุผลการเบิกวัคซีน (เพื่อรณรงค์ก่อนระบาด/ควบคุมการระบาด)  จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  ชนิดและจำนวนวัคซีนที่ขอเบิก(รวมอัตราสูญเสีย ร้อยละ 10)  วันที่ต้องการได้รับวัคซีน และวันที่จะให้บริการวัคซีน  ชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ของผู้ประสาน รายงานผลให้สำนักโรคติดต่อทั่วไปทราบภายใน 2 สัปดาห์

  19. ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค พื้นที่รณรงค์หรือควบคุมโรค..................................

  20. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2) • หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์โทรศัพท์0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com • สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - ส่งทางรถไฟ รถทัวร์ หรือ บริษัทเอกชน

  21. ขอบคุณค่ะ/ครับ

More Related