1 / 15

Impact Factor : IF

Impact Factor : IF. ความหมาย. คือ ค่าเฉลี่ยของจำนวนการได้รับการอ้างอิงของบทความในวารสารชื่อหนึ่ง ต่อ จำนวนบทความที่พิมพ์ก่อนหน้านั้น. ความเป็นมา. ปี ค.ศ. 1960  Dr. Eugene Garfield ได้นำเสนอแนวคิดในการนำข้อมูลการอ้างอิงมาวัดคุณภาพวารสาร โดยตีพิมพ์บทความนำเสนอให้วารสาร Science เมื่อปี 1955

sybil
Télécharger la présentation

Impact Factor : IF

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Impact Factor: IF

  2. ความหมาย • คือ ค่าเฉลี่ยของจำนวนการได้รับการอ้างอิงของบทความในวารสารชื่อหนึ่ง ต่อ จำนวนบทความที่พิมพ์ก่อนหน้านั้น

  3. ความเป็นมา • ปี ค.ศ. 1960  Dr. Eugene Garfield ได้นำเสนอแนวคิดในการนำข้อมูลการอ้างอิงมาวัดคุณภาพวารสาร โดยตีพิมพ์บทความนำเสนอให้วารสาร Science เมื่อปี 1955 • ปี ค.ศ. 1963  เกิดฐานข้อมูล Science Citation Index เป็นการนำเสนอบทความวิจัยวิทยาศาสตร์ที่มีข้อมูลการอ้างอิง • ปี ค.ศ. 1970  เกิดฐานข้อมูล Social Science Citation Index เป็นการนำเสนอบทความวิจัยสังคมศาสตร์ที่มีข้อมูลการอ้างอิง • ปี ค.ศ. 1976  เกิดบริการ Journal Citation Report, JCR  นำเสนอค่า Journal Impact Factor, JIF

  4. ความเป็นมา • ปี ค.ศ.1980  เกิดฐานข้อมูล Arts & Humanities Citation Index  เป็นการนำเสนอบทความวิจัยมนุษยศาสตร์ที่มีข้อมูลการอ้างอิง • ปี ค.ศ. 1990 ISI  นำเสนอข้อมูล Indicators datasets & Citation report  • ปี ค.ศ. 1995 เกิดบริการแบบเว็บเบส ISI – Web of Knowledge • ปี ค.ศ. 2000 เกิดบริการ Essential Science Indicators, ESI • ปี ค.ศ. 2005 มีการเสนอหน่วยวัดคุณภาพงานวิจัย h index • ปี ค.ศ. 2007  มีการเสนอหน่วยวัดคุณภาพงานวิจัย Eigenfactor Metrics

  5. หน่วยวัด คุณภาพงานวิจัยวิทยาศาสตร์ 1. Impact Factor, IF 2. H index 3. Eigenmetrics 4. Map & Research Fronts 5. Usage Statistics 

  6. หน่วยวัด คุณภาพงานวิจัยวิทยาศาสตร์ • จากหน่วยวัด 3 ค่าหลักข้างต้น ทุกๆหน่วยต่างก็ใช้ข้อมูลการอ้างอิง (citation count) เป็นสำคัญ

  7. หลักการวัด • 1. Impact Journal Metrics- เป็นการนับจำนวนการได้รับการอ้างอิง ต่อจำนวนบทความที่ตีพิมพ์ (ในวารสาร)- เป็นวิธีที่ง่ายเข้าใจได้- เป็นหน่วยวัดที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ในชุมชนวิจัยทั่วโลก คือค่า JIF, Immediacy index, Time half life index

  8. หลักการวัด • 2. H  Family -อยู่บนหลักการเรียงลำดับจากสูงสุดไล่เรียง ของจำนวนบทความตีพิมพ์- เป็นหน่วยวัดที่ง่าย เข้าใจได้- สามารถนำประยุกต์ได้กับทุกระดับ คือ วารสาร นักวิทยาศาสตร์ สถาบัน ประเทศ • 3. Influence Metric- เป็นการให้ค่าน้ำหนักในการวัดของโครงสร้างเครือข่ายของการอ้างอิงทั้งหมด- คิดหน่วยวัดเป็น 2 ค่าหลัก คือ Eigenfactor Influence (EI) / Article Influence (AI)

  9. วิธีการคำนวณหาค่า Journal  Impact Factor • คำจำกัดความหมายถึงสัดส่วนระหว่าง จำนวนการได้รับการอ้างอิง / จำนวนบทความที่ตีพิมพ์

  10. วิธีการคำนวณหาค่า Journal  Impact Factor • แสดงวิธีการคำนวณ 2 years JIF 2007 ของวารสาร A ดังนี้ -มีจำนวนการอ้างอิงในปี 2007 ถึงบทความที่ตีพิมพ์ปี 2006 =4541 ครั้ง-มีจำนวนการอ้างอิงในปี 2007 ถึงบทความที่ตีพิมพ์ปี 2005 =5827 ครั้ง-รวม จำนวนการอ้างอิงถึงวารสาร A ช่วง 2 ปี  = 10368-จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ ปี 2006 = 773  เรื่อง-จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ ปี 2005 = 837  เรื่อง-รวม จำนวนการตีพิมพ์ ของวารสาร A ช่วง 2 ปี = 1610 เรื่อง ฉะนั้น ค่า JIF- 2 years ของวารสาร A =  10368/1610=  6.440

  11. ประเด็นที่เกิดข้อถกเถียงของค่า JIF    • - Citable items ไม่มีมาตรฐานและคำจำกัดความไม่แน่ชัด- Citation Pattern ในแต่ละสาขาวิชามีความผันแปรแตกต่างกันอย่างมาก- การคิดค่า แค่ช่วงระยะเวลาเพียง 2 ปี เป็นช่วงเวลาที่สั้นเกินไป- ประเภทของบทความตีพิมพ์ (Review, Research article) มีความผันแปรในการอ้างอิงแตกต่างกัน- คิดค่า JIF เฉพาะวารสารไม่มีสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นๆ- เป็นการวัดที่บิดเบือนของการกระจายตัวของค่าต่างๆ

  12. ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย Thai Journal Citation Index : TCI • จัดตั้งขึ้นโดยได้รับเงินสนับสนุนจาก สกว. • จัดตั้งที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  13. เกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI • วารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • เป็นวารสารที่จัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องทุกปี และออกตรงตามเวลาที่กองบรรณาธิการของแต่ละวารสารกำหนด • เป็นวารสารที่จัดทำขึ้นภายในประเทศทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ • เป็นวารสารที่มีอายุการตีพิมพ์ไม่น้อยกว่า 3 ปี

  14. เกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI • เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิจัย บทความวิชาการ บทความปริทัศน์ และบทความเรื่องสั้น • เป็นบทความที่มีบทคัดย่อภาษาไทย และ หรือ ภาษาอังกฤษ • เป็นบทความที่มีเอกสารอ้างอิง • มีการตรวจสอบคุณภาพของบทความที่เสนอขอรับการตีพิมพ์โดยมีทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความอย่างน้อย 2 ท่าน • สามารถขอรับการประเมินคุณภาพผลงานโดยศูนย์ TCI ตามระยะเวลาที่เหมาะสม

More Related