1 / 38

พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน. สำนักงานพัฒนาระบบบริหาร. SAR 2549 VS 2550. คำรับรองการปฏิบัติราชการ 2551 และ ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ 2551. แนวทางการจัดทำข้อเสนอการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน.

takara
Télécharger la présentation

พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนา เพิ่มคุณค่า เติมต่อ โครงข่ายทางให้สมบูรณ์ อย่างพอเพียงและยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน สำนักงานพัฒนาระบบบริหาร

  2. SAR 2549 VS 2550

  3. คำรับรองการปฏิบัติราชการ 2551และข้อเสนอการปฏิบัติราชการ 2551

  4. แนวทางการจัดทำข้อเสนอการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานแนวทางการจัดทำข้อเสนอการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงาน

  5. A ประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 (ของ สทช. 2) • ผลการเบิกจ่ายงบประมาณต่ำกว่าค่ากำหนดของกรม (93%) • QCS อยู่ในระดับ A+ ทุกหน่วยเบิกจ่าย • SAR อยู่ในระดับดี • การบำรุงปกติ ต่ำกว่าเกณฑ์ • ข้อร้องเรียนมีมาก ข้อเสนอแนะมีน้อย • บุคลากรทุกระดับเครียด เรื่องการรายงาน

  6. ประเด็นตัวอย่าง ทั้งระดับกรมและระดับหน่วยงาน 1. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี 2. ข้อร้องเรียน 3. ผลประเมินคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4. ผลประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 5. คุณภาพงานก่อสร้าง 6. การเปิดระบบให้ภาคประชาชนมามีส่วนร่วม 7. ความพึงพอใจของประชาชนผู้สัญจรทางหลวงชนบท 8. ความพึงพอใจของลูกค้าที่ขอรับบริการจากทางหลวงชนบท 9. การรักษามาตรฐานการบริการ

  7. ประเด็นตัวอย่าง ทั้งระดับกรมและระดับหน่วยงาน 10. อส.ทช. 11. ความสามัคคีของบุคลากรในหน่วยงาน 12. การรายงานผลของหน่วยปฏิบัติเข้าศูนย์กลาง 13. ระบบสารสนเทศ อิเล็คทรอนิกส์ 14. การซ่อมบำรุงปกติ 15. การช่วยเหลืออุทกภัย 16. การอำนวยความปลอดภัยช่วงเทศกาล 17. การอำนวยความสะดวกตลอดทั้งปี 18. การแก้ไขสัญญา 19. อื่น ๆ

  8. ตัวอย่างแบบประเมิน

  9. แบบประเมินระดับกรม ระดับหน่วยงาน • ประเด็น ข้อร้องเรียน • ความเสี่ยง มีความเสี่ยงที่จะได้รับจำนวนมากขึ้น • จุดแข็งของกรม? • จุดอ่อนของกรม เปิดระบบมากและใส่ใจต่อคำร้องเรียน • โอกาสของกรม ? • ภัยคุกคามของกรม มาตรา 54

  10. 7.แนวทางการปรับปรุง 1) ปรับกลไก ตอบรับ ข้อร้องเรียน อาทิเช่น กำหนดหากการร้องเรียน มีตัวตนให้ทุกหน่วยถือปฏิบัติเคร่งครัด หากการร้องเรียนไม่มีตัวตน ให้หัวหน้าหน่วยรับผิดชอบ ในการค้นหาข้อเท็จจริง และพิจารณา แจ้งตอบหรือไม่ก็ได้ 2) แจ้งส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง อาทิ สตง. คค. ฯลฯ ทราบ 3) แจ้งวงกว้าง และบุคลากรของทช. ทราบ 8.วิธีการ?

  11. แบบประเมินระดับกรม  ระดับหน่วยงาน 1. ประเด็น ผลการเบิกจ่ายงบประมาณของสทช. 2 ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 2. ความเสี่ยง มีความเสี่ยงที่จะอยู่ในเกณฑ์ต่ำ 3. จุดแข็ง สทช.2- 4. จุดอ่อน สทช.2 1) ขาดการกำกับดูแลที่ต่อเนื่อง ชัดเจน 2.) ขาดความสามัคคี 5. โอกาสของ สทช.2 ผู้บริหารของกรมฯ ให้โอกาส 6. ภัยคุกคามของสทช.2 -ไม่มี-

  12. 7. แนวทางการปรับปรุง 1) สร้างเครื่องมือช่วยการกำกับดูแลที่ต่อเนื่อง ชัดเจนอาทิเช่น กำหนด แผนงานทุกกิจกรรมย่อยให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสแรก 2) สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นภายในสำนักทางหลวงชนบทที่ 2 (รวมถึง 6 ทางหลวงชนบทจังหวัด) 8. วิธีการ 1) ประชุมแจกแจงกิจกรรม 2) กำหนดเจ้าภาพติดตาม/ประเมิน 3) สร้างแผนงานประจำปี รายเดือน รายสัปดาห์ 4) Sharing 5) รายงานผู้นำเป็นระยะ

  13. ปัจจัยการลำดับความสำคัญเร่งด่วนปัจจัยการลำดับความสำคัญเร่งด่วน พิจารณาจากผลกระทบเป็นหลัก น้ำหนักแปรตามวิสัยทัศน์ ของผู้นำหน่วย มี 5 ปัจจัยได้แก่ 1. บริบทใหม่ 2. ผลผลิต 3. ภาพลักษณ์หน่วย 4. บุคลากรขององค์กร 5. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย / ผู้รับบริการ

  14. สมมติ 1. บริบทใหม่ น้ำหนัก 5 (หรือ 70) 2. ผลผลิต น้ำหนัก 2 (หรือ 40) 3. ภาพลักษณ์ของหน่วย น้ำหนัก 3 (หรือ 50) 4. บุคลากรขององค์กร น้ำหนัก 4 (หรือ 60) 5. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย น้ำหนัก 5 (หรือ 90) การให้คะแนนย่อย ควรมีคะแนนเต็มเท่ากับจำนวนประเด็นประเมิน แล้วลดหลั่นลงมาถึง 1

  15. ตารางคะแนน ระดับกรม ระดับหน่วยงาน

  16. ลำดับความสำคัญเร่งด่วน 3 ลำดับระดับกรม 1. ประเด็น ข้อร้องเรียน 2. ประเด็น การบำรุงปกติ 3. ประเด็น บุคลากรทุกระดับเครียดเรื่องการ รายงาน

  17. ลำดับความสำคัญเร่งด่วน 3 ลำดับระดับหน่วยงาน (สำนัก/กอง สทช.2) 1. ประเด็น ผลการเบิกจ่ายต่ำ/เตรียมตัวช้า 2. ประเด็น การบำรุงปกติ 3. ประเด็น การเปิดระบบราชการให้ ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

  18. B ทบทวนวิสัยทัศน์ ปรับแต่งวิสัยทัศน์ใหม่ตามบริบทใหม่ของกรม “ประชาชน ร่วมสร้างคุณค่า ทางหลวงชนบท ได้ปรากฏประโยชน์สุขประชาชน”

  19. C กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ 2551-2554 การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการ สทช. 2 การบำรุงปกติที่สัมฤทธิ์ผล ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดประโยชน์สุขจากโครงข่ายทางหลวงชนบท

  20. D กำหนดตัวชี้วัดในมิติที่ 1 ประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ I ระดับความสำเร็จของการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการ สทช.2 II ผลการประเมินของผู้บริหารทุกระดับ IIIระดับความสำเร็จของการเปิดระบบราชการ กรมบังคับ 1 ตัวชี้วัด

  21. E กำหนดตัวชี้วัดในมิติที่ 2 คุณภาพในการให้บริการ IVความถูกต้องของแผนงานงบประมาณ V ผลการประเมินของ สบร. VIผลการประเมินการเปิดระบบราชการ กรมบังคับ 1 ตัวชี้วัด กรมบังคับเลือก 1 ตัวชี้วัด

  22. F กำหนดตัวชี้วัดในมิติที่ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ VII ร้อยละของการเบิกจ่าย (ยอด GFMIS) VIIIร้อยละของการบำรุงปกติตามแผนงาน IX ร้อยละของจำนวนครั้งการเปิดระบบราชการตามแผนงาน กรมบังคับ 2 ตัวชี้วัด กรมบังคับเลือก 1 ตัวชี้วัด

  23. G กำหนดตัวชี้วัดในมิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร X ระดับความสำเร็จขององค์กรแห่งการเรียนรู้ XIระดับความสำเร็จของการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุน ให้มิติที่ 1 หรือ 2 หรือ 3 สัมฤทธิ์ผล

  24. H เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ เป็นการทบทวนตัวชี้วัดจากมิติที่ 4 เป็นเส้นทาง โครงข่ายทางหลวงชนบท ขึ้นไปหามิติที่ 3 ขึ้นไป หามิติที่ 2 ขึ้นไปหามิติที่ 1

  25. I กำหนดน้ำหนัก ตั้งสมมติฐาน มิติละ 25 เท่ากันแล้วให้เหตุผล ในการปรับลดและเพิ่มน้ำหนักข้ามมิติ ไม่ควร ทำให้แต่ละมิติต่ำกว่า 15 หรือสูงกว่า 40

  26. J ระดับหน่วยปฏิบัติ (กลุ่ม ส่วน ฝ่าย งาน และ ทชจ.) ให้ยื่นข้อเสนอการปฏิบัติราชการต่อผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการกองหรือเลขานุการกรม

  27. K ทบทวนข้อเสนอฯ ระดับหน่วยปฏิบัติ ว่ามีผลกระทบต่อข้อเสนอการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงานหรือไม่ ถ้าไม่มีผลกระทบใด ๆ เลย ให้ปรับแก้ได้ทั้งระดับหน่วยงาน และหรือ ระดับหน่วยปฏิบัติ จนลงตัว

  28. L ส่งร่างผลการประเมิน ระดับหน่วยงาน ถึง สพร. ภายในวันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2550 หน้า 3 บน ประเมินผลระดับกรม 3 ประเด็น ประเมินผลระดับสำนัก/กอง 5 ประเด็น หน้า 5 ระดับกรม 3 ประเด็น หน้า 6 ระดับสำนัก/กอง 5 ประเด็น หน้า 8 บนทั้งระดับกรมและหน่วยงาน หน้า 8 ล่าง ระดับกรม 3 ประเด็น หน้า 9 บน ระดับหน่วยงาน 3 ประเด็น

  29. M สมุดบันทึกผลงานของผู้ยื่นข้อเสนอทุกระดับ ให้นำข้อเสนอเป็นตัวตั้งในบันทึกผลงานที่ได้ปฏิบัติตาม หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยมีสาระพื้นฐานอาทิ 1. ผลการยื่นข้อเสนอฯ 2. การวางแผนปฏิบัติ 3. การประชุมเร่งรัด ติดตาม นำสู่ผลการประเมิน ไตรมาสที่ 2, 3, 4

  30. N. สมุดบันทึกผลงานของระดับ 8 ลงมาที่ไม่ใช่ผู้ยื่นข้อเสนอ ให้นำกิจกรรมที่สนับสนุนข้อเสนอฯ ไปบันทึกผลงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ

  31. O. สมุดพกส่วนตัว

  32. P. ข้อเสนอการพัฒนาที่ต้องการ ควรมี Competency พื้นฐานของกรมที่เรียกว่า CORE COMPETENCY บริบทเดิม 1. แนวคิดการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 2. การเปิดระบบราชการให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 3. การบริหารจัดการองค์ความรู้ 4. การสื่อสาร 5. การประเมินผลเพื่อการพัฒนา บริบทใหม่ ?

  33. Q. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บริหารจัดการให้เกิดสมดุลภายใน พร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกจนเกิดความพอเพียง และไม่ยึดติดมีการเคลื่อนไหว มีการปรับสมดุลเกิดวงรอบใหม่เพื่อความยั่งยืนขององค์กร ทุกระดับต้องอาศัยความรอบรู้ และจริยธรรม

  34. R. ปรับปรุงเครื่องมือ กระบวนการ (REVIEW) S. SHARING T. REGULATION & INTERNAL CONTROL U. ASSESSMENT V. SWOT W. BALANGING X. REVIEW Y. SHARING Z. LEARN TO LIVE TOGETHER

  35. ประชาชนร่วมสร้างคุณค่าทางหลวงชนบท ได้ปรากฏประโยชน์สุขประชาชน LEARN TO LIVE TOGETHER LEARN TO LIVE TOGETHER

More Related