1 / 10

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471). รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วัตถุประสงค์ของวิชา. ศึกษากลไกของตลาดแรงงาน พฤติกรรมของนายจ้างและลูกจ้าง สนองตอบต่อแรงจูงใจต่างๆ วิเคราะห์บทบาทของสถาบันสำคัญที่มีอิทธิพลเข้าแทรกแซงตลาด ภาครัฐ และ สหภาพแรงงาน

tan
Télécharger la présentation

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. วัตถุประสงค์ของวิชา • ศึกษากลไกของตลาดแรงงาน • พฤติกรรมของนายจ้างและลูกจ้าง • สนองตอบต่อแรงจูงใจต่างๆ • วิเคราะห์บทบาทของสถาบันสำคัญที่มีอิทธิพลเข้าแทรกแซงตลาด • ภาครัฐ และ สหภาพแรงงาน • วิเคราะห์นโยบายและมาตรการ • เพื่อสวัสดิการของทุกฝ่ายในตลาดแรงงาน

  3. การวัดผล • รายงานการศึกษาค้นคว้าประเด็นสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับแรงงาน • กลุ่มละไม่เกิน ๕ คน๑๕% • สอบกลางภาค วันอังคารที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕ % • สอบปลายภาค วันศุกร์ที่๒ ตุลาคม (เช้า) ๕๐ % • การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในห้องเรียน ๑๐ %

  4. หนังสือหลักที่ใช้อ่านประกอบหนังสือหลักที่ใช้อ่านประกอบ • George J. Borjas, Labor Economics, McGraw-Hill Companies, Inc. Fourth Edition, McGraw-Hill International Edition, 2008 • McConnell, Campbell R., Stanley L. Brue and David A. Macpherson, Contemporary Labor Economics, Sixth Edition, McGraw-Hill Irwin, 2002 • เศรษฐศาสตร์แรงงานร่วมสมัย แปลและเรียบเรียง จาก McConnell, Brueand Macpherson โดย พรรณี จรัมพร บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด ๒๕๔๘

  5. ทฤษฎีอุปทาน (การเสนอขาย) แรงงาน • หลักเกณฑ์การตัดสินใจของแต่ละบุคคลที่จะมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน • แบบจำลองการเลือกระหว่าง • งานในตลาด งานบ้าน และการพักผ่อน • อุปทานแรงงานรวม • การลงทุนในทุนมนุษย์ • การศึกษา และการฝึกอบรมระหว่างงาน • ผลของนโยบายรัฐบาล • ต่ออุปทานแรงงานส่วนบุคคล • ต่อการลงทุนในทุนมนุษย์

  6. ทฤษฎีอุปสงค์ (ความต้องการ) แรงงาน • ความต้องการแรงงานของหน่วยผลิต • ในระยะสั้น • และระยะยาว • ความต้องการของตลาดโดยรวม • ปัจจัยกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน

  7. ดุลยภาพในตลาดแรงงาน • การกำหนดอัตราค่าจ้าง และ ปริมาณการจ้างงานในตลาดแรงงานแบบต่าง ๆ • ตลาดแรงงานแบบแข่งขันสมบูรณ์ • การผูกขาดในตลาดผลผลิต • การผูกขาดด้านผู้ซื้อแรงงาน • ทางเลือกต่างๆในการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน • ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตและคนงาน • ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน • โครงสร้างค่าจ้าง • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คนงานและงานมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ • การใช้ค่าจ้างชดเชยความแตกต่างระหว่างงาน หรือ ระหว่างคนงาน

  8. บทบาทของสถาบันหลักในตลาดแรงงานบทบาทของสถาบันหลักในตลาดแรงงาน • สหภาพแรงงาน • แบบจำลองว่าด้วยพฤติกรรมของสหภาพแรงงาน • ผลกระทบของสหภาพแรงงานต่อค่าจ้างและการจ้างงาน • รัฐ • ในฐานะผู้จ้างงาน • ในฐานะผู้กำกับดูแล และ คุ้มครองแรงงาน

  9. การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานการเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน • ทฤษฎีสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายการเลือกปฏิบัติ • รสนิยม • ข้อมูลไม่สมบูรณ์ • การกระจุกตัวของอาชีพ • นโยบายและมาตรการ • ป้องกันและแก้ไขการเลือกปฏิบัติ

  10. ความคิดเห็น/ความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาอธิบายตลาดแรงงานความคิดเห็น/ความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาอธิบายตลาดแรงงาน • ประเทศไทยควรกีดกันคนงานจากต่างชาติ เช่น พม่า กัมพูชา หรือไม่ เพราะเหตุใด • คนงานหญิงและชายควรได้รับค่าจ้างเท่ากันหรือไม่ ถ้างานที่ทำนั้นมีลักษณะเหมือนกัน

More Related