1 / 24

อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

การเปรียบเทียบผลการออกแบบพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงด้วยวิธีโครงข้อแข็งเสมือนสองมิติและ วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์แบบแผ่นสามมิติ. อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม. การวิเคราะห์ - ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง. Equivalent Frame Method (EFM) ACI318-05 หัวข้อ 13.7

tanek
Télécharger la présentation

อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปรียบเทียบผลการออกแบบพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงด้วยวิธีโครงข้อแข็งเสมือนสองมิติและวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์แบบแผ่นสามมิติการเปรียบเทียบผลการออกแบบพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงด้วยวิธีโครงข้อแข็งเสมือนสองมิติและวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์แบบแผ่นสามมิติ อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  2. การวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงการวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง • Equivalent Frame Method (EFM) • ACI318-05 หัวข้อ 13.7 • มองโครงสร้างที่เป็น 3 มิติ ให้เป็น 2 มิติ • สร้างแบบจำลองแยกกันในแต่ละแนวของเสา • สร้างแบบจำลองแยกกันในแต่ละทิศทางของการถ่ายแรง • แนว เหนือ-ใต้ ของแปลน • แนว ตะวันออก-ตะวันตก ของแปลน • โปรแกรม Adapt PT 7.0 และโปรแกรมอื่น ๆ

  3. การวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงการวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง • วิธี 3D Plate Finite Element • มองโครงสร้าง 3 มิติ เป็น 3 มิติตามจริง • สร้างแบบจำลองรวมเป็นชิ้นเดียวกันทั้งชิ้น • ได้ Moment ของการถ่ายแรงทั้งสองทิศทาง Mx, My, Mxy • คำนวณ Stress ได้จาก Moment Mx, My, Mxy • โปรแกรม Adapt Floor Pro, RAM Comcept

  4. เปรียบเทียบการวิเคราะห์แบบ 2D กับ 3D

  5. การเปรียบเทียบกรณีควบคุมการเปรียบเทียบกรณีควบคุม

  6. กรณี A

  7. กรณี A

  8. กรณี B

  9. กรณี B

  10. กรณี C

  11. กรณี C

  12. กรณี D

  13. กรณี D

  14. กรณี E

  15. กรณี E

  16. กรณี F

  17. กรณี F

  18. สรุป • สำหรับกรณี A ซึ่งเป็นการแปรเปลี่ยนความกว้างของแถบของการออกแบบ ค่าหน่วยแรงจากวิธีทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกันมากตลอดช่วงของการแปรเปลี่ยน ซึ่งเป็นการยืนยันว่าในกรณีทั่วไปที่มีการจัดเรียงเสาอย่างเป็นระเบียบ คำตอบของสองวิธีควรจะมีค่าใกล้เคียงกัน • สำหรับกรณี B ถึง F เป็นการทดลองแปรเปลี่ยนตำแหน่งของเสาในแถบของการออกแบบให้แตกต่างไปจากแถบข้างเคียง ซึ่งจะมีผลทำให้ผลของการวิเคราะห์แบบสามมิติ แตกต่างไปจากแบบสองมิติ หน่วยแรงที่วิเคราะห์ได้จาก วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ (FEM 3D) มีค่าน้อยกว่าวิธีโครงข้อแข็งเสมือน ซี่งเป็นวิธีแบบสองมิติ (EFM 2D) สำหรับทุก ๆ กรณี

  19. สรุป (ต่อ) • ในกรณีที่การจัดเรียงของเสาไม่อยู่ในแนวที่ตั้งฉากกัน หากเป็นไปได้จึงควรใช้วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ (FEM 3D) มากกว่าวิธีโครงข้อแข็งสองมิติ (EFM 2D) แต่หากไม่มีโปรแกรมที่ใช้วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ เช่น Adapt Floor Pro หรือ RAM Concept แล้ว การออกแบบโดยใช้วิธีโครงข้อแข็งสองมิติเช่น Adapt PT ก็ให้ค่าหน่วยแรงที่ Conservative ซึ่งเป็นวิธีที่ยอมรับได้ • ในกรณีที่การจัดเรียงของเสาอยู่ในแนวที่ตั้งฉากกัน วิธีโครงข้อแข็งสองมิติจะให้คำตอบใกล้เคียงกับวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ ซึ่งสำหรับกรณีนี้วิธีโครงข้อแข็งสองมิติน่าจะใช้เวลาในการเตรียมข้อมูลน้อยกว่า

More Related