1 / 8

สรุปผังการดำเนินงานการแก้ไขสัญญาไม่เป็นธ

สรุปผังการดำเนินงานการแก้ไขสัญญาไม่เป็นธรรม (มิ.ย.2552 – พ.ย.2553). ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ มีนโยบายแก้ไขข้อความสัญญาไม่เป็นธรรม (มิ.ย.52). รวบรวมข้อมูลสัญญาจากสมาชิกบางราย (ส.ค. – พ.ย. 52). สรุปประเด็นปัญหาของสัญญาและหารือสภาทนายความ (ธ.ค.52 – ก.พ.53). คณะทำงานเสนอแนวทางแก้ไข 2 ระยะ

tarmon
Télécharger la présentation

สรุปผังการดำเนินงานการแก้ไขสัญญาไม่เป็นธ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผังการดำเนินงานการแก้ไขสัญญาไม่เป็นธรรมสรุปผังการดำเนินงานการแก้ไขสัญญาไม่เป็นธรรม (มิ.ย.2552 – พ.ย.2553) ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ มีนโยบายแก้ไขข้อความสัญญาไม่เป็นธรรม (มิ.ย.52) รวบรวมข้อมูลสัญญาจากสมาชิกบางราย (ส.ค. – พ.ย. 52) สรุปประเด็นปัญหาของสัญญาและหารือสภาทนายความ (ธ.ค.52 – ก.พ.53) คณะทำงานเสนอแนวทางแก้ไข 2 ระยะ ระยะสั้น – เสนอตรงต่อหน่วยงานรัฐในประเด็นที่มิได้ระบุในระเบียบ ระยะยาว – เสนอต่อ ก.คลัง ในประเด็นที่เป็นระเบียบหรือมติ ครม. (ก.พ.53) สำรวจความต้องการแก้ไขสัญญาจากบริษัทที่ปรึกษา 200 แห่ง มี 28 แห่งที่ตอบแบบสอบถาม และ 25 แห่งต้องการแก้ไข มี 3 หน่วยงานที่กล่าวถึง คือ กทม. กรมชลประทาน และกรมทางหลวงชนบท (ก.พ. – มี.ค.53) รวบรวมสัญญา สรุปประเด็นปัญหา และข้อเสนอแก้ไขต่างๆ เสนอต่อ คณะกรรมการสมาคมฯ พิจารณาทบทวน แยกเป็นปัญหาจาก 3 หน่วยงาน : 1. หน่วยงานรัฐที่ว่าจ้างที่ปรึกษา 2. สัญญามาตรฐาน โดยสำนักงานอัยการสูงสุด 3. ระเบียบพัสดุ โดยสำนักนายกรัฐมนตรี (อดีต) และกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง (ในปัจจุบัน) (มี.ค. – พ.ค.53) แยกเรื่องนำเสนอการขอแก้ไขต่อหน่วยงานรับผิดชอบ ต่อ

  2. ต่อ แยกเรื่องนำเสนอการขอแก้ไขต่อหน่วยงานรับผิดชอบ I.ขอแก้ไขต่อหน่วยงานรัฐที่ว่าจ้าง ที่ปรึกษา 3 แห่ง (กทม./ชป./ทช.) ใน 3 ประเด็นหลัก 1. ให้ที่ปรึกษารับค่าบริการ ตามความก้าวหน้าของผู้รับเหมา 2. ต้องมีหลักประกันสัญญา 3. ให้รับประกันผลงานนาน ไม่สามารถรับคืนหลักค้ำประกัน ผลงาน เมื่อก่อสร้างเสร็จ II.ขอแก้ไขต่อสำนักงานอัยการสูงสุด ในสัญญามาตรฐาน 3 ประเด็น 1. ให้ลิขสิทธิ์เป็นของผู้ว่าจ้างแต่ผู้เดียว 2. ไม่อนุญาตให้ที่ปรึกษารับค่าตอบ แทนใดๆ ซึ่งอาจรวมถึงค่าล่วงเวลา 3. ที่ปรึกษาต้องรับผิดชอบต่อความ เสียหายทั้งหมด III.ขอแก้ไขระเบียบพัสดุต่อ กรมบัญชีกลาง ใน 3 ประเด็นหลัก 1. กำหนดเพดานค่าจ้างออกแบบและ ควบคุมงานอาคาร ไม่เกิน 1.75 - 2% ของค่าก่อสร้าง ซึ่งก่อให้เกิดปัญหา การขยายสัญญาที่ปรึกษา ในกรณี งานล่าช้าเนื่องจากผู้ว่าจ้าง 2. ให้มีหลักประกันซองเสนองาน 3. ปรับที่ปรึกษากรณีที่ล่าช้า อาจเกิด ความเสียหายแก่ราชการ กระทรวงการคลัง หน่วยงานรัฐ สำนักงานอัยการสูงสุด - ยื่นเรื่อง 27 ก.ย.53 - อัยการตอบชี้แจง (*4) 10 พ.ย.53 • กรุงเทพมหานคร (กทม.) • ยื่นเรื่อง 19 พ.ค.53 • พบรองผู้ว่า ชี้แจง (*1) 7 ก.ค.53 • อยู่ระหว่างการพิจารณา ธ.ค.53 • ของคณะกรรมการพัสดุ • กรุงเทพมหานคร • สำนักบริหารหนี้ฯ • ยื่นเรื่อง 4 มิ.ย.53 • เข้าชี้แจง (*5) 30 ส.ค.53 • กรมบัญชีกลาง • ยื่นเรื่อง 7 ก.ย.53 • กรมฯตอบชี้แจง(*6) 20 ต.ค.53 • - ตอบขอบคุณกรมฯ (*7)10 พ.ย.53 • กรมทางหลวงชนบท (ทช.) • ยื่นเรื่อง 14 มิ.ย.53 • พบผู้แทนกรมฯ 22 ก.ค.53 • ทช.ตอบชี้แจง (*2) 17 ส.ค.53 • - ตอบขอบคุณกรมฯ (*3) 1 พ.ย.53 • คณะกรรมการกฤษฎีกา • ยื่นเรื่อง 1 พ.ย.53 • รอการพิจารณา (ปัจจุบัน) • กรมชลประทาน (ชป.) • ยื่นเรื่อง 16 มิ.ย.53 • อยู่ระหว่างการ (ปัจจุบัน) • พิจารณาของ • กองนิติการ ต่อ

  3. ต่อ หมายเหตุ *1 = ผลจากการหารือกับ กทม. ท่านรองผู้ว่ากรุงเทพมหานครดำริที่จะนำประเด็นความไม่เป็นธรรมที่สำคัญ เช่น การกำหนดการจ่ายเงินงวดของที่ปรึกษาที่ผูกกับความก้าวหน้างานก่อสร้างของผู้รับเหมา เป็นต้น เข้าพิจารณาในการประชุมผู้บริหารสำนักด้านวิศวกรรมทั้งสี่ ภายใน 1-2 สัปดาห์ สำหรับประเด็นที่เกี่ยวกับ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครว่าด้วยการพัสดุนั้น จะต้องดำเนินตามกรอบของบัญญัติก่อน จนกว่าจะมีการแก้ไข ปรับปรุงข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครใหม่ ซึ่งต้องใช้เวลาและกระบวนการพิจารณาเป็นระยะเวลานาน *2 = ทช. ตอบชี้แจงว่าข้อความในสัญญา บางประเด็นเป็นเงื่อนไขเฉพาะกิจ ใช้กับโครงการถนนไร้ฝุ่นเท่านั้น และบางประเด็นต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ (ดูเอกสารแนบท้าย 1.) *3 = สมาคมฯ ตอบขอบคุณ ทช. และขอให้กรมฯ พิจารณาปรับปรุงให้เหมาะสมในโอกาสต่อไป *4 = อัยการสูงสุดมีหนังสือตอบกลับว่าขอให้บริษัทที่ปรึกษาที่ทำงานกับหน่วยงานของรัฐ ร้องขอให้หน่วยงานรัฐ แก้ไขข้อสัญญาก่อน และหากหน่วยงานรัฐมีข้อสงสัย ก็ให้หารือสำนักงานอัยการสูงสุด ดังนั้นในชั้นนี้จึงไม่อาจ พิจารณาให้ (ดูเอกสารแนบท้าย 2.) *5 = ผลจากการประชุมกับสำนักบริหารหนี้ฯ สรุปดังนี้ ในส่วนของข้อเสนอแนะในระเบียบพัสดุและค่าจ้างที่ปรึกษานั้น ได้แนะนำให้สมาคมฯ ทำเรื่องนำเสนอต่อ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงอีกทางหนึ่ง และปัจจุบันมีการตั้งคณะอนุกรรมการ พิจารณาระเบียบดังกล่าวแล้ว โดยมีผู้แทนจาก วสท. และสภาวิศวกร แต่ไม่มีผู้แทนจากสมาคม วปท. ผู้แทนสำนักบริหารหนี้รับที่จะนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการฯ ให้เชิญผู้แทนจาก วปท. เข้าร่วมในการประชุม คณะอนุกรรมการฯ ครั้งต่อไป *6 = กรมบัญชีกลางมีหนังสือตอบกลับว่ากรมฯ ได้เสนอเรื่องการปรับปรุงระเบียบพัสดุต่อสำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาไปก่อนแล้ว และจะนำเสนอข้อคิดเห็นของสมาคมฯ ให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาต่อไป (ดูเอกสารแนบท้าย 3.) *7 = ขอให้กรมบัญชีกลาง สนับสนุนสมาคมฯ ในการนำเสนอต่อคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อพิจารณาปรับปรุงแก้ไข ก่อนจะประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกาต่อไป

  4. เอกสารแนบท้าย 1

  5. เอกสารแนบท้าย 1 (ต่อ)

  6. เอกสารแนบท้าย 1 (ต่อ)

  7. เอกสารแนบท้าย 2

  8. เอกสารแนบท้าย 3

More Related