1 / 48

ผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

Taxation Chapter 2. ผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. A.Suchda Hommanee. เงินได้ที่เกิดจาก 1. หน้าที่งานที่ทำในประเทศ 2. กิจการที่ทำในประเทศ 3. กิจการของนายจ้างในประเทศไทย 4. ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศ (เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล

Télécharger la présentation

ผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Taxation Chapter 2 ผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา A.SuchdaHommanee Thonburi University

  2. เงินได้ที่เกิดจาก 1. หน้าที่งานที่ทำในประเทศ 2. กิจการที่ทำในประเทศ 3. กิจการของนายจ้างในประเทศไทย 4. ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศ (เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า) ไม่ว่าจะอยู่ไทยกี่วันก็ตาม และไม่ว่าจะได้รับเงินในหรือนอกประเทศจะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเสมอ เงินได้ภายในประเทศ (Income Source Rule) Thonburi University

  3. เงื่อนไขเงินได้ที่เกิดจากเงื่อนไขเงินได้ที่เกิดจาก 1. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ 2. กิจการที่ทำในต่างประเทศ 3. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ เงินได้ภายนอกประเทศ (Resident Rule) Thonburi University

  4. จะเสียภาษีในประเทศไทย จะต้องเข้าองค์ประกอบ ดังนี้ 1. ต้องนำเงินได้เข้ามาในไทย 2. เป็นผู้อยู่ในประเทศ (อาศัยอยู่ในประเทศไทย คราวหนึ่ง หรือหลายคราวในปีภาษี 180 วัน เงินได้ภายนอกประเทศ (Resident Rule) (ต่อ) Thonburi University

  5. เงินได้ภายนอกประเทศ (Resident Rule) (ต่อ) 30 เม.ย. 2551 31 ธ.ค. 2551 1 ก.ย. 2551 1 ก.ย. 2550 - 4 - เดือน - 4 - เดือน - 4 - เดือน ออกจากประเทศไทย เข้ามาในประเทศไทย เข้ามาในประเทศไทย Thonburi University

  6. มาตรา 50 จ่ายให้แก่ผู้รับที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (1) กรณีจ่ายเงินได้ ประเภทที่ (1) ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศไทย หรือ และ(2) กรณีอยู่ในประเทศไทย ขั้นตอนที่ 1 เงินได้พึงประเมิน x จำนวนคราวที่ต้องจ่าย ขั้นตอนที่ 2 หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน ขั้นตอนที่ 3 คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ขั้นตอนที่ 4 หารด้วยจำนวนคราวที่ต้องจ่าย Thonburi University

  7. มาตรา 50 (ต่อ) (2) กรณีจ่ายเงินได้ ประเภทที่ (2), (3), (4), (5), (6) - ที่จ่ายให้แก่ผู้รับที่มิได้อยู่ในประเทศไทย - ให้หักในอัตราร้อยละ 15 (3) การจ่ายเงินได้ประเภทที่ 4 (ก) ดอกเบี้ยฯ - ผู้จ่ายเงินได้มิใช่นิติบุคคล - จ่ายให้ผู้ซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย - ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย Thonburi University

  8. (4) การจ่ายเงินได้ประเภทที่ 8 กรณีนักแสดงสาธารณะ มีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศ ให้หักในอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เว้นแต่ นักแสดงภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ เฉพาะบริษัทหรือห้างฯ ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ได้รับอนุญาตให้ถ่ายทำในประเทศไทย หักภาษี ณ ที่จ่าย ร้อยละ 10 Thonburi University

  9. การหักค่าลดหย่อน บุคคลธรรมดา, ผู้ถึงแก่ความตาย - ไม่อยู่ในประเทศไทยหรืออยู่ไม่ถึง 180 วัน - หักลดหย่อนได้ 30,000 เสมอ ห้างหุ้นส่วนสามัญและคณะบุคคล - หักได้คนละ 30,000 ไม่เกิน 60,000 - แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ถึง 180 วัน Thonburi University

  10. การหักค่าลดหย่อน (ต่อ) คู่สมรส - เป็นคู่สมรสชอบด้วยกฎหมาย - คู่สมรสไม่มีเงินได้ หรือมีแต่ไม่แยกคำนวณ - ผู้มีเงินได้มิได้อยู่ในประเทศไทย หักได้เฉพาะ คู่สมรสที่อยู่ในประเทศไทย Thonburi University

  11. เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบุตรเงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบุตร 1. ต้องเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธรรม ของผู้มีเงินได้รวมทั้งบุตรของสามีหรือภริยาของ ผู้มีเงินได้ 2. ต้องไม่มีเงินได้ถึง 15,000 บาท ในปีภาษี 3. ต้องเป็นผู้เยาว์ หรือไม่เกิน 25 ปี ต้องศึกษาอยู่ใน มหาวิทยาลัย หรือชั้นอุดมศึกษา รวมถึงบุตรที่ไร้ ความสามารถหรือเสมือนร้ความสามารถที่ศาลสั่ง Thonburi University

  12. เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบุตร (ต่อ) 4. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 หักค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 3 คน เรียงตามลำดับอายุสูงสุดของบุตรและนับบุตร ที่มีชีวิตอยู่ 5. ผู้มีเงินได้มิได้อยู่ในประเทศไทย หักได้เฉพาะบุตร หรือบุตรบุญธรรมที่อยู่ในประเทศไทย Thonburi University

  13. เงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบิดาและมารดาเงื่อนไขการหักค่าลดหย่อนบิดาและมารดา 1. ต้องเป็นบิดา/มารดาของผู้มีเงินได้หรือของคู่สมรส และต้องอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 2. บิดา/มารดา ของผู้มีเงินได้หรือของคู่สมรสต้องไม่มีเงินได้ เกิน 30,000 บาท ในปีภาษี 3. หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท 4. ถ้าบุตรคนใดใช้สิทธิแล้วคนอื่นใช้ไม่ได้ 5. ต้องเป็นคนมีเลขประจำตัวประชาชน ของบิดาและมารดา 6. ผู้มีเงินได้มิได้อยู่ในประเทศไทย หักได้เฉพาะบิดาหรือมารดา ที่อยู่ในประเทศไทย Thonburi University

  14. การจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อนการจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อน 1. การให้บริการส่วนบุคคลที่เป็นอิสระ - ผู้ให้บริการมีฐานประกอบการประจำอยู่ในรัฐแหล่งเงินได้ - ผู้ให้บริการได้เข้าไปให้บริการในรัฐแหล่งเงินได้เกิน 183 วัน ภายในช่วงเวลา 12 เดือนใด - ค่าตอบแทนที่ผู้ให้บริการตกเป็นภาระรายจ่ายของสถาน ประกอบการของรัฐที่เข้าไปให้บริการ เข้าเงื่อนไขกรณีใดก็ตามเงินได้ที่จ่ายต้องเสียภาษีให้ประเทศไทย Thonburi University

  15. การจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อน(ต่อ)การจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อน(ต่อ) 2. การให้บริการส่วนบุคคลที่ไม่เป็นอิสระ - ผู้มีเงินได้เข้าทำงานในรัฐแหล่งเงินได้เกิน 183 วัน ภายใน ช่วงเวลา 12 เดือน - ค่าตอบแทนที่ผู้มีเงินได้ได้รับจากผู้จ่ายที่เป็นรัฐแหล่งเงินได้ - ค่าตอบแทนที่จ่ายได้นำมาตัดเป็นรายจ่ายของนายจ้าง ที่เป็นรัฐแหล่งเงินได้ เข้าเงื่อนไขกรณีใดก็ตามเงินได้ที่จ่ายต้องเสียภาษีให้ประเทศไทย Thonburi University

  16. การจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อน(ต่อ)การจ่ายให้บุคคลธรรมดาที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศอนุสัญญาภาษีซ้อน(ต่อ) 3. เงินได้ของนักแสดงสาธารณะ ประเทศไทยหักภาษี ณ ที่จ่าย ตาม ทป.4/2528 เว้นจากรัฐเป็นผู้ส่งให้การสนับสนุน จึงได้รับยกเว้น 4. การเสียภาษีของอาจารย์ ครู และนักวิจัย จะยกเว้นภาษี กรณีเข้าไปทำการสอนหรือวิจัยไม่เกิน 2 ปี เท่านั้น Thonburi University

  17. การจ่ายให้แก่ ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล Thonburi University

  18. บริษัท/ห้างหุ้นที่จัดตั้งขึ้น ตามกฎหมายต่างประเทศ ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในไทย ได้แก่ (ก) เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย (สาขา) (ม.66 วรรค 2) (ข) ประกอบกิจการขนส่งผ่านประเทศไทย (ม.67) (ค) มิได้ประกอบกิจการในไทย แต่มีเงินได้ตาม ม.40 (2) - (6) ที่จ่ายจาก หรือในประเทศไทย (ม.70) (ง) มีลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อ เป็นเหตุให้ได้รับเงินได้ในประเทศไทย (ม.76 ทวิ) Thonburi University

  19. มาตรา 70 1. จ่ายให้ แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ 2. มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย 3. จ่ายเงินได้ประเภท (2) – (6) ได้แก่ - ค่านายหน้า - ค่ากู๊ดวิล ลิขสิทธิ์ - ดอกเบี้ย เงินปันผล ขายหุ้นเกินจากที่ทุนไว้ - ค่าเช่าทรัพย์ - วิชาชีพอิสระ เช่น ประกอบโรคศิลป กฎหมาย บัญชี Thonburi University

  20. มาตรา 70 (ต่อ) 4. อัตราที่หักนำส่งร้อยละ 15 5. การจ่ายเป็นเงินตราต่างประเทศใช้อัตราแลกเปลี่ยน - ธนาคารพาณิชย์ หรือ ธนาคารแห่งประเทศ - ใช้อัตราแลกเปลี่ยนในวันที่จ่ายไปต่างประเทศ - เป็นอัตราขาย 6. การจ่ายไปประเทศที่อนุสัญญาภาษีซ้อนไม่ต้องหักนำส่งเว้นแต่ - ค่าสิทธิ -ดอกเบี้ย -เงินปันผล Thonburi University

  21. ทป. 4/2528 ข้อ 12 1. จ่ายค่าจ้างทำของ 2. ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งขึ้น ตามกฎหมายต่างประเทศประกอบกิจการในไทย 3. มิได้มีสำนักงานสาขาตั้งอยู่เป็นการถาวรในประเทศไทย ให้หักในอัตราร้อยละ 5.0 Thonburi University

  22. แต่ถ้ามีสำนักงานตั้งเป็นการถาวรแต่ถ้ามีสำนักงานตั้งเป็นการถาวร (ก) มีสำนักงานในประเทศไทยที่เป็นกรรมสิทธิ์ ของตนเอง (ข) มีการประกอบธุรกิจอย่างอื่นนอกจากการ รับจ้างทำของในประเทศเป็นประจำ (ค) มีการจัดตั้งทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อลูกจ้าง ในประเทศไทยให้หักในอัตราร้อยละ 3.0 Thonburi University

  23. ภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีจ่ายเงินไปต่างประเทศ มาตรา 77/2 - การให้บริการที่ทำในต่างประเทศ - ได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร - ให้ถือว่าการให้บริการนั้น เป็นการให้บริการ ในราชอาณาจักร Thonburi University

  24. ภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีจ่ายเงินไปต่างประเทศ (ต่อ) มาตรา 78/3 (3) ความรับผิด - เมื่อได้มีการชำระราคาค่าบริการทั้งหมด หรือบางส่วน - ผู้ให้บริการยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.36) ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป Thonburi University

  25. ภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีจ่ายเงินไปต่างประเทศ (ต่อ) มาตรา 83/6 - ผู้จ่ายเงินซื้อสินค้าหรือค่าบริการ - มีหน้าที่นำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม - ผู้ประกอบการที่ใช้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร Thonburi University

  26. สรุปการจ่ายตามมาตรา 40(2) เช่น ค่านายหน้าหรือค่าวิทยากร Thonburi University

  27. สรุปการจ่ายตามมาตรา 40(3) เช่น ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือกู๊ดวิล Thonburi University

  28. สรุปการจ่ายตามมาตรา 40(4)(ก) เช่น ดอกเบี้ย Thonburi University

  29. สรุปการจ่ายตามมาตรา 40(5) เช่น ค่าทรัพย์สิน Thonburi University

  30. สรุปการจ่ายตามมาตรา 40(6) เช่น ประกอบโรคศิลป กฎหมาย บัญชี Thonburi University

  31. Thonburi University

  32. Thonburi University

  33. Thonburi University

  34. Thonburi University

  35. Thonburi University

  36. ปีภาษี 2553 กรมสรรพากรออกกฎหมายใหม่เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหลายฉบับ • การยกเว้นเงินได้ จำนวน 190,000.-บาท สำหรับคนพิการที่มีอายุไม่เกิน 65 ปี บริบูรณ์ • เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ • ค่าการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ • เงินสมทบกองทุนประกันสังคม • เงินบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยผ่าน “ตัวแทนรับบริจาค” Thonburi University

  37. Thonburi University

  38. รายการหักลดหย่อนเพิ่มเติมรายการหักลดหย่อนเพิ่มเติม 12. ค่าเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ ไม่เกินคนละ 15,000 บาท 13. เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึง ประเมิน แต่ไม่เกิน 200,000 บาท Thonburi University

  39. สรุปประเด็นสำคัญ • เงินได้ประเภทที่ 2 เป็นงานที่เสียค่าใช้จ่ายไม่สูง เงินได้ประเภทที่ 8 เป็นงานที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง • ตาม มาตรา 57 เบญจ นั้น ภริยามีสิทธิเลือกแยกยื่นแบบแสดงรายการและเสียภาษีต่างหากจากสามีได้ ต่อเมื่อเงินได้ที่ ภริยาได้นั้น เป็นเงินได้ประเภท 40(1)เท่านั้น หากเป็นประเภทอื่น 40(2)-(8) ต้องนำไปคำนวณเป็น • เงินได้ ของสามี ยกเว้น สามีไม่มีรายได้ หรือไม่ได้อยู่ร่วมกันตลอดปีภาษี • เงินได้ประเภทที่ต้องเสียภาษีครึ่งปี ได้แก่ เงินได้ประเภทที่ 40(5)ถึง40(8) Thonburi University

  40. ตัวอย่างที่ 1 นายดี มีเงินได้ประเภทที่1 เงินเดือน 120,000 บาท ในปีภาษีจะหักค่าใช้จ่ายได้ (120,000 X 40%) = 48,000 บาท Thonburi University

  41. ตัวอย่างที่ 2วิธีการคำนวณเฉลี่ยค่าใช้จ่าย นางมา มีเงินได้ประเภทที่ 1 เงินเดือน 180,000 บาท และมีเงินได้ประเภทที่ 2 ค่านายหน้า 120,000 บาท ในปีภาษี หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 40 แต่ไม่เกิน 60,000บาท วิธีการคำนวณเฉลี่ยค่าใช้จ่าย 1. เงินได้ประเภทที่ 1 180,000 = 36,000 2. เงินได้ประเภทที่ 2 120,000 = 24,000 60,000 Thonburi University

  42. นายมั่น มีเงินเดือน 240,000 บาท ค่านายหน้า 160,000 บาท ค่าลิขสิทธิ์จากการเขียน นิยาย 200,000 บาท และมีเงินได้จากเงินปันผล 140,000 บาท จากบริษัทมิตรแท้ ( เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 30) ตัวอย่างที่ 3 ข้อ 1 และ 2 ต้อง เฉลี่ยการหักค่าใช้จ่าย เงินได้เงินเดือน 40(1) 240,000 บาท *หักค่าใช้จ่ายได้ 36,000 บาท**เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 204,000 บาท Thonburi University

  43. 2. เงินได้ค่านายหน้า 40(2) 160,000 บาท *หักค่าใช้จ่ายได้ 24,000 บาท ** เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 136,000 บาท 3. เงินได้ค่าลิขสิทธิ์ 40(3) 200,000 บาท * หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 แต่ไม่เกิน 60,000 บาท 60,000 บาท **เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 140,000 บาท 4. เงินได้จากเงินปันผล 40(4) 140,000 บาท *บวกเครดิตภาษี 60,000 บาท **รวมเงิน(ได้เงินปันผล+ เครดิตภาษี) 200,000 บาท Thonburi University

  44. ตัวอย่างการหักค่าใช้จ่ายและหักเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นตัวอย่างการหักค่าใช้จ่ายและหักเงินได้ที่ได้รับการยกเว้น • โจทย์ นายมาและนางลี เป็นสามีภริยาชอบดวยกฎหมายและอยู่ร่วมกันตลอดปีภาษี นายมา ได้รับเงินเดือนๆ ละ 30,000 บาท นำส่งประกันสังคมจำนวน 9,000 บาท และ ภริยาคือนางลี ได้รับค่านายหน้าจากการขายทิ่ดินจำนวน 84,000 บาท นางลีทำงานที่สำนักงานทนายความ ได้รับเงินเดือนๆ ละ 13,000 บาท และมีรายรับจากการว่าความจำนวน 60,000 บาท ทั้งคู่ต่างมีเงินได้และมีบุตรผู้เยาว์ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูรวม 1 คน และบุตรผู้เยาว์ซึ่งไม่ได้ศึกษาอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูรวม 1 คน นายมาจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนเลี้ยงชีพ เดือนละ 4,000 บาท Thonburi University

  45. ได้ประกันชีวิตไว้กับบริษัทประกันชีวิตในประเทศแห่งหนึ่ง กรมธรรม์มีกำหนดเวลา 15 ปี จ่ายเบี้ยประกันชีวิตไป 102,200 บาท บริจาคให้แก่โรงพยาบาลศิริราช 100,000 บาท บริจาคช่วยสร้างโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาจำนวน 50,000 บาท ส่วนนางลี ได้ประกันชีวิตไว้กับบริษัทประกันชีวิตในประเทศไทย กรมธรรม์มีกำหนดเวลา 12 ปี จ่ายเบี้ยประกันไป 100,000 บาท 1. นายมาได้รับดอกเบี้ยรับจากธนาคารจำนวน 100,000 บาท 2. นายมาได้รับจากงานเขียนเรื่องสั้นส่งสำนักหนังสือพิมพ์จำนวน 20,000 บาท 3. นายมาได้รับเงินปันผลจากการถือหุ้นบริษัทฯ ที่นายมาทำงานซึ่งเสียภาษีในอัตราร้อยละ30จำนวน 270,000 บาทและบริษัทฯ Thonburi University

  46. 4. นางลี มีรายได้ค่าเช่าบ้านทั้งปีจำนวน 120,000 บาท นางลียังมีที่นาอยู่ที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยเก็บค่าเช่าปีละ 15,000 บาท 5. นายมาใช้เวลาว่างหลังเลิกงานและวันหยุด รับเหมาซ่อมแซมต่อเติมอาคารจำนวน 240,000 และรายรับจากการจำหน่ายวัสดุ 180,000 บาท 5. นายมาใช้เวลาว่างหลังเลิกงานและวันหยุด รับเหมาซ่อมแซมต่อเติมอาคารจำนวน 240,000 และรายรับจากการจำหน่ายวัสดุ 180,000 บาท 6. นายมาและนางลีซื้อบ้านที่อยู่อาศัย ได้กู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ และธนาคารได้ทำการแยกสัญญาเงินกู้ เป็นของนายมา 1 ฉบับ และเป็นของนางลี 1 ฉบับ ทั้งคู่แยกการผ่อนชำระเพราะว่านายมาและนางลีต่างฝ่ายต่างมีรายรับ โดยทั้งปีนายมาต้องชำระดอกเบี้ย 25,000 บาท และนางลีต้องชำระดอกเบี้ย 25,000 บาท Thonburi University

  47. 7. นายมามีบิดาอายุ 70 ปี ไม่มีเงินได้และนายชัชน้องชายนำไปลดหย่อนเสียภาษีของนายชัยและมารดาอายุ 68 ปี ไม่มีรายรับเช่นกันส่วนนางลี มีบิดาอายุ 65 ปี มีรายรับจากการว่าความปี 240,000 บาท และมารดาอายุ 64 ปี มีรายรับจากการรับสอนพิเศษเดือนละ 3,000 บาท 8. นายมาได้ซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพจำนวน 100,000 บาทและซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว 10,000 บาท Thonburi University

  48. ส่วนที่ 1คือ หักค่าใช้จ่าย เงินเดือนนายไชย 30,000 บาท จำนวน 12 เดือน 312,000 บาท หัก เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุน 38,000 บาท เงินได้ส่งประเมินหลังจากหักเงินสะสม 274,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 60,000 บาท เงินได้ก่อนหักลดหย่อน 214,000 บาท Thonburi University

More Related