1 / 27

Outline ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาข

ระบบดูแลเฝ้าระวังโรค ซึมเศร้า และ ที่มาของการพัฒนา CPG ในการอบรมใช้แนวทาง การจัดการโรคซึมเศร้าสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป ในสถานบริการระดับปฐมภูมิและทุติย ภูมิ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. Outline ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาของการพัฒนา CPG.

thad
Télécharger la présentation

Outline ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาของการพัฒนา CPGในการอบรมใช้แนวทางการจัดการโรคซึมเศร้าสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปในสถานบริการระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิสนับสนุนโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

  2. Outline ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาของการพัฒนา CPG ที่มาของระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า (ปัญหาของระบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าของไทย) มาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า กระบวนการการดูแลรักษาตามระบบดูแลเฝ้าระวัง ความสำคัญและขั้นตอนการพัฒนา CPG และการพิจารณาหลักฐานทางวิชาการ

  3. สภาพปัญหาของการดูแลรักษาโรคซึมเศร้าของไทย • แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปทุกระดับไม่มั่นใจในการวินิจฉัยโรคซึมเศร้า • มีความจำกัดของการดูแลรักษาทั้ง การรักษาด้วยยา และทางจิตสังคม • ไม่มีระบบติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำของโรคที่มีประสิทธิผล Awareness Diagnosis Treatment Accessibility Surveillance Prevention Result of situation analysis fiscal 2006 ประชาชนส่วนใหญ่ขาดการตระหนัก มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องคิดว่าอาการซึมเศร้าเป็นเรื่องธรรมดาเป็นแล้วก็หายเองและมีอคติต่อความเจ็บป่วยจิตเวชรวมทั้งโรคซึมเศร้า การเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าน้อยมากๆ (3.34%) ขาดเทคโนโลยีและแนวทางการป้องกันโรคซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพ

  4. ความจริงที่ซ่อนเร้นในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าความจริงที่ซ่อนเร้นในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า (100%) ได้รับยาต้านเศร้า (4.4%) ไม่ได้รับการรักษา (95.6%) ได้ยาในปริมาณที่เพียงพอ สำหรับการรักษา*(?%) : ไม่มารักษา—ไม่ได้รับการวินิจฉัย—วินิจฉัยแต่ได้รับการรักษา--ได้รับการรักษาแต่ไม่ต่อเนื่องหรือปริมาณยาไม่พอ *6-month treatment with an adequate dose leading to a response Tylee A et al, IntClinPsychopharmacol, 1999, 14 (3): 139–51; Lépine, JP et al., IntClinPsychopharmacol, 1997, 12: 19–29

  5. 5 6 4 3 1 3 2 7 การพัฒนาระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า พ.ศ. 2549-2552 ขั้นตอน 1-3 ดำเนินการปี 2549 ดำเนินการ ปี 2550 Pilot study จังหวัดยโสธร วิเคราะห์สถานการณ์ การพัฒนาระบบ/ เครื่องมือ/เทคโนโลยี ทบทวน องค์ความรู้ ติดตาม ประเมินผล ขั้นตอนที่ 5-6 ดำเนินการ ปี 2551 พัฒนาเครื่องมือ เครื่องมือ คัดกรอง/ประเมิน พัฒนาเทคโนโลยีส่งเสริมป้องกัน ปรับปรุงเครื่องมือ เทคโนโลยีและระบบ การส่งเสริมป้องกัน พัฒนาแนวทางการดูแลรักษา การดูแลรักษา ขยายผล ทั่วประเทศ ปี 2552 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และข้อมูลสารสนเทศ ทดลองขยายผล ใน 22 จังหวัด ระบบการเฝ้าระวัง

  6. มาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้ามาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า ลดอคติในเรื่องโรคซึมเศร้าในบุคลากรสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป โดยสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ลดการเกิดโรคในผู้ที่เสี่ยงโดยการค้นหาและส่งเสริมป้องกัน ลดระยะเวลาและความรุนแรงของอาการซึมเศร้า โดยผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างรวดเร็วตั้งแต่เริ่มมีอาการ ด้วยวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพและนานพอ ป้องกันผลแทรกซ้อนที่จะเกิดจากโรคซึมเศร้า เช่น การฆ่าตัวตาย ป้องกันการกลับซ้ำและการกลับเป็นใหม่ของโรค

  7. ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

  8. เครื่องมือ/เทคโนโลยีที่สำคัญในระบบดูแลเฝ้าระวังเครื่องมือ/เทคโนโลยีที่สำคัญในระบบดูแลเฝ้าระวัง 2Q แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2 คำถาม DS8 แบบคัดกรองซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 9Q แบบประเมินอาการซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม 8Q แบบประเมินฆ่าตัวตายด้วย 8 คำถาม

  9. การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าการคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse คัดกรอง 2Q หรือ DS8 การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วยเพื่อค้นหา และนำผู้ป่วยข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

  10. เครื่องมือการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q P76

  11. Thoranin Kongsuk M.D. M.Sc.

  12. Thoranin Kongsuk M.D. M.Sc.

  13. กลุ่มเสี่ยงที่ควรคัดกรองโรคซึมเศร้ากลุ่มเสี่ยงที่ควรคัดกรองโรคซึมเศร้า กลุ่มที่สามารถประมาณการจำนวนได้ กลุ่มที่ประมาณการจำนวนได้ยาก • ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ไตวาย มะเร็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง • ผู้ป่วยสูงอายุ • ผู้ที่ตั้งครรภ์หรือหลังคลอด • ผู้ที่มีปัญหาสุรา สารเสพติด • กลุ่มที่มาด้วยอาการซึมเศร้าชัดเจน • ผู้ป่วยที่มีอาการทางกายเรื้อรังหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ • กลุ่มที่มีการสูญเสีย (คนที่รักหรือสินทรัพย์จำนวนมาก)

  14. ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวังความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ประเมิน 9Q - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการเปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระระดับความรุนแรง

  15. เครื่องมือการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q

  16. การแปลผลการใช้แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q ค่าจุดตัด (cut off score)= 7 คะแนน เป็นจุดตัดที่แบ่งระดับการวินิจฉัยหรือจำแนกคนที่ป่วยออกจากคนไม่ป่วย (cut off level) โดยเลือกจากค่า ความไว (Sensitivity) 75.68% และความจำเพาะสูง (Specificity) 92.85% เป็นระดับที่สูงและสอดคล้องกับบริบทของโรคซึมเศร้าในคนไทย

  17. ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การค้นหาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า: คัดกรองด้วย 2Q หรือ DS8 รายงาน/สรุปผล บันทึกผลทาง www บันทึกผลทาง www Depression Surveillance System ประเมินโรคซึมเศร้า ด้วย 9Q ติดตามเฝ้าระวังการกลับซ้ำ ด้วย 9Q บันทึกผลทาง www บันทึกผลทาง www ประเมินการฆ่าตัวตาย ด้วย 8Q ดูแลรักษาโรคซึมเศร้าและ ด้วยแนวทางการจัดการ ตามระดับความรุนแรง บันทึกผลทาง www

  18. กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้ากระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า คัดกรอง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย 2Q หรือ DS8 ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา +ve +ve +ve แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ≥ 7 ประเมินด้วย 9Q ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ≥ 7 ≥ 7 ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q 8Q ≥17 ประเมิน การฆ่าตัวตายด้วย 8Q วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ ≥7 9Q ≥19 ผลประเมินด้วย 9Q Non MDD MDD ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี Mild 9Q=7-12 Csg+Edญาติ Moderate 9Q=13-18 Rx+Csg+Edญาติ ≥7 Severe 9Q≥19 มีปัญหาทางสังคมจิตใจ Csg ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน Education ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ติดตามการรักษาจน 9Q<7 ทุก 1 เดือนเป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้

  19. บทบาทของแพทย์ในระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าบทบาทของแพทย์ในระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า CPG for GP แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปไม่มั่นใจ ในการวินิจฉัยและให้การรักษา Diagnosis Treatment

  20. Introduction • จัดพิมพ์ฉบับร่าง • ให้คณะผู้เชี่ยวชาญประเมิน • ปรึกษาผู้เกี่ยวข้องกลุ่มอื่นๆ • ทดลองใช้ ประเมินผลการใช้ • จัดทำแผนการนำไปปฏิบัติ • ประเมินผล และพัฒนาต่อเนื่อง การจัดทำ กำหนดทีมงานยกร่าง กำหนดขอบเขตของปัญหา ครอบคลุมถึงโรคซึมเศร้าทุกชนิด กำหนด Health outcome ที่ต้องการคือ การหายทุเลาทบทวนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ประชุมยกร่างแนวปฏิบัติ 8 ครั้ง

  21. Level of evidence

  22. Level of evidence

  23. Level of evidence

  24. Level of evidence ปรับปรุงโดย นพ.ธรณินทร์ กองสุข จาก CEBM level of Evidence; www.cebm.net, originally created by Dave Sackett, Susanne Fletcher. March 2009

  25. Grades of Recommendations

  26. Grades of Recommendations ปรับปรุงโดย นพ.ธรณินทร์ กองสุข จาก CEBM level of Evidence; www.cebm.net, originally created by Dave Sackett, Susanne Fletcher. March 2009

More Related