1 / 30

แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555

แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555. นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ. รองอธิบดีกรมการข้าว. นโยบายของรัฐบาล (ภาคเกษตร).

Télécharger la présentation

แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานโครงการที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555 นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว

  2. นโยบายของรัฐบาล (ภาคเกษตร) ข้อ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชโดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก และถ่ายทอดองค์ความรู้จากการวิจัยไปสู่เกษตรกร เพื่อให้มีการใช้พันธุ์ดี ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยการใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด ทั้งนี้ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต

  3. นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การพัฒนาการผลิต Agenda Based การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน ลุ่มน้ำปากพนังฯ ชายแดนใต้ฯ Area Based Commodity Based นิคมการเกษตร ฯลฯ

  4. โครงการสำคัญ (Flagship Projects)ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการจัดระบบการปลูกข้าว ความเป็นมา : • ปัญหาวิกฤตน้ำ ดิน ศัตรูพืช ระบบนิเวศ และต้นทุนการผลิต • 22 มีนาคม 2554 ครม.เห็นชอบ • ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 ปี (2554-2557)

  5. โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ปี 2554 ปลูกพืชปุ๋ยสด 100,000 ไร่ และจัดเตรียม เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ชั้นพันธุ์ขยาย 350 ตัน ชั้นพันธุ์จำหน่าย 3,500 ตัน • ปี 2555–2557 มีพื้นที่ดำเนินการปีละ 1.5 ล้านไร่ ดังนี้ • ปลูกถั่วเขียว 700,000 ไร่ • ปลูกพืชอื่นๆ 150,000 ไร่ • ปลูกพืชปุ๋ยสด 150,000 ไร่ • ปลูกข้าวพร้อมกัน 500,000 ไร่ ในพื้นที่เดียวกัน งบประมาณ 880 ล้านบาท

  6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กรมชลประทาน สำรวจข้อมูล • กรมพัฒนาที่ดิน พืชปุ๋ยสด • กรมวิชาการเกษตร เมล็ดพันธุ์พืชหลังนา • กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ชั้นพันธุ์จำหน่ายและการตลาด • กรมการข้าว เจ้าภาพหลัก • กรมส่งเสริมการเกษตร ฝึกอบรมเกษตรกร • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประเมินผล โครงการ โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  7. โครงการสำคัญ (Flagship Projects)ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต สภาพปัญหา : • ชาวนามีการใช้เทคโนโลยีการผลิตไม่ถูกต้องและเหมาะสม เนื่องจากชาวนาส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ตั้งแต่เรื่องการใช้เมล็ดพันธุ์ดี ระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูก การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้สารเคมีและการดูแลรักษา

  8. โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความเป็นมา : • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีนโยบายสำคัญในการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร และได้แต่งตั้งคณะกรรมการฯขึ้น เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2552โดยมีที่ปรึกษารมว.กษ. ดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย เป็นประธาน และได้เลือกให้ข้าวเป็นพืชนำร่อง • ปี 2554 กรมการข้าวได้ดำเนินการจัดทำหมู่บ้านลดต้นทุนการผลิตข้าว 12 แห่ง ได้แก่ อ่างทอง นครพนม อุดรธานี อำนาจเจริญ สุรินทร์ นครศรีธรรมราช ขอนแก่น พิษณุโลก อุทัยธานี กำแพงเพชร อุตรดิตถ์ และนครปฐม

  9. โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเด็นเทคโนโลยี : • คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว • อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าว • การเตรียมดิน • การใส่ปุ๋ย • การใช้สารเคมี • การจัดการน้ำ • การบันทึกข้อมูล

  10. โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิธีดำเนินงาน : • การจัดเวทีระดมสมองเพื่อวิเคราะห์พื้นที่ • สำรวจข้อมูล ก่อนและหลังดำเนินงาน • จัดทำหมู่บ้านลดต้นทุน • แปลงเรียนรู้ 20 ไร่ • แปลงขยายผล 300 ไร่ • การจัดงานวันรณรงค์สาธิตการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและนำเกษตรกรศึกษาดูงาน เป้าหมาย : ลดต้นทุนการผลิตข้าวไม่น้อยกว่า 1,000 บาท/ตัน

  11. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ปี 2554-2556 โครงการต่อเนื่อง ขอบเขตการดำเนินงาน : • พัฒนาศูนย์หลัก 5 ศูนย์ ศูนย์เครือข่าย 50 ศูนย์ ในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ และ อ่างทอง

  12. โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 ศมข./ศวข. ศขช.2 ศูนย์บริการชาวนา ศขช. 3 ศขช. 9 ศขช. 4 ศขช.10 ศขช. 5 ศขช. 7 ศูนย์ข้าวชุมชนหลักและศูนย์ข้าวชุมชนเครือข่าย ศขช. 1 • ศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าว • แปลงเรียนรู้ • ห้องสมุดชาวนา • อบรมชาวนา ศูนย์หลัก ศขช. 8 • พยากรณ์การระบาดศัตรูข้าว • สำรวจข้อมูลสภาพอากาศ • สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ศัตรูข้าว • เผยแพร่และเตือนภัยการ ระบาด ศขช. 6 • ศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว • ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว • ให้บริการปรับปรุงสภาพ เมล็ดพันธุ์และบรรจุถุง • บริการลานตากข้าว • ศูนย์บริการชาวนาเครือข่าย • ข้อมูลการวินิจฉัยศัตรูข้าว • ข้อมูลการตลาดข้าว • ศูนย์เรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าว • โรงสีชุมชน • อบรมให้ความรู้ด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ 12

  13. โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 กิจกรรมหลัก: • การจัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชนรูปแบบใหม่ • การสร้างระบบพยากรณ์เตือนภัย โดยการจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูข้าวชุมชน • การพัฒนาศูนย์บริการชาวนา • หมู่บ้านต้นแบบลดต้นทุนการผลิตข้าว • การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และบริการเครื่องจักรกลในการปลูกข้าว

  14. โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 งบประมาณ : 128 ล้านบาท แผนการดำเนินงาน : • จัดให้มีพิธีเปิดและงานวันรณรงค์ 5 ครั้ง เดือนต.ค. – พ.ย. • จัดทำโครงการขยายผล 10 จังหวัด เดือน ธ.ค.

  15. โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา ความเป็นมา : • ชาวนาขาดหลักประกันและความมั่นคงในอาชีพการทำนา • ยุทธศาสตร์ข้าวไทย ปี 2550-2554กลยุทธ์การส่งเสริมและสนับสนุนชาวนา (ข้อ 6) สนับสนุนให้มีสวัสดิการชาวนา • 30 มกราคม 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งคณะทำงานโดยมีที่ปรึกษา รมว.กษดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย เป็นประธานคณะทำงาน

  16. โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา สาระสำคัญ : • พรบ.กองทุนสวัสดิการชาวนา มี 6 หมวด 59 มาตรา • ให้กองทุนเป็นหน่วยงานของรัฐและมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ • มีคณะกรรมการบริหารกองทุนสวัดิการชาวนา จำนวน 12 คน • กองทุน ประกอบด้วยเงินสะสมจากชาวนา 1 ส่วน และรัฐบาล 1.5 ส่วน • สมาชิกมีสิทธิได้รับสวัสดิการ เป็นสวัสดิการรายเดือน (บำนาญ) และสิทธิประโยชน์อื่นๆ

  17. โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา ผลความก้าวหน้า : • 17 สิงหาคม 2553 กขช. มีมติเห็นชอบ • 10 กันยายน – 9 พฤศจิกายน 2553รับฟังความคิดเห็น 40 จังหวัด รวม 8 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม 1,850 คน • 12 เมษายน 2554 มติครม. อนุมัติหลักการและเห็นควรให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา • 11 สิงหาคม 2554 กรมการข้าวร่วมประชุมชี้แจงคณะกรรมการกฤษฎีกาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  18. โครงการต่อเนื่อง • ศูนย์วิจัยและพัฒนาข้าวแห่งชาติ ศูนย์วิจัยและพัฒนาข้าวแห่งชาติ

  19. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือสู่ความยั่งยืน

  20. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูลข้าว นาปี ปี2553

  21. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูลข้าว นาปรัง ปี2553

  22. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพปัญหา : • ระบบชลประทาน • คุณภาพดิน • ข้อจำกัดเรื่องพันธุ์ข้าวและเมล็ดพันธุ์ • ช่วงเวลาปลูกข้าว • เทคโนโลยี • โรคไหม้ • ข้าวปนเปื้อน • คุณภาพข้าว (ความหอม)

  23. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป้าหมาย : • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีให้เพียงพอ • การจัดระบบการปลูกข้าว • ยกระดับคุณภาพข้าวด้วย GAP • ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตข้าวอินทรีย์

  24. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว 600,000 ตัน/ปี สภาพปัญหา : เมล็ดพันธุ์ข้าวไม่เพียงพอและส่วนหนึ่งไม่ได้มาตรฐาน ความต้องการทั้งประเทศ :

  25. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว ปริมาณการผลิตเมล็ดพันธุ์ ปี 2554 : กรมการข้าว 100,000 ตัน สหกรณ์ 250,000 ตัน ศูนย์ข้าวชุมชน 100,000 ตัน ชาวนาก้าวหน้า/ 150,000 ตัน เอกชน/ชมรมฯ รวม375,000ตัน

  26. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • จัดทำยุทธศาสตร์การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว 2555-2558 ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์หลัก • การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีประสิทธิภาพ • การสร้างความเข้มแข็งของผู้ผลิตและผู้จำหน่าย • การควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผลิตและจำหน่ายให้ได้มาตรฐาน • การกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวอย่างเพียงพอและทั่วถึง

  27. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • การพัฒนารูปแบบและวิธีการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ข้าวชุมชน • จำนวน 4,625 ศูนย์ • สมาชิก 143,258 ราย • เงินกองทุน 417 ล้านบาท • ผลิตเมล็ดพันธุ์ 104,244 ตัน (2,016 ศูนย์)

  28. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • การพัฒนารูปแบบและวิธีการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน 1. การใช้ AFTA Model 2. การใช้Chainat Model โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชมรมผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์เข้ามาเป็นเครือข่าย 3. การใช้Khonkaen Model โดยการให้ ธ.ก.ส. เข้ามาร่วมทำงานกับกรมการข้าวและศูนย์ข้าวชุมชน 4. การใช้PhraeModel ที่จะจัดตั้งโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อความมั่นคง

  29. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว เป้าหมาย : • ลดปริมาณการผลิตของสำนักเมล็ดพันธุ์ข้าว • เพิ่มศักยภาพการผลิตของศูนย์ข้าวชุมชนและชมรมผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ • กรมการข้าวเน้นการตรวจสอบรับรองคุณภาพและการควบคุมบังคับใช้กฎหมาย • การเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ข้าวให้กระจายไปทั่วประเทศภายใน 3 ปี (2555-2557)

  30. สวัสดี

More Related