1 / 290

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552. เชิดชัย มีคำ. ขอบเขตการนำเสนอ. สาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 แนวทางปฏิบัติจาก กวพ.

tiger
Télécharger la présentation

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 เชิดชัย มีคำ

  2. ขอบเขตการนำเสนอ • สาระสำคัญของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 • แนวทางปฏิบัติจาก กวพ.

  3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 • เป็นระเบียบที่กำหนดวิธี • การจัดหา • การจัดการ • เป็นระเบียบที่มุ่งเน้น • วิธีการดำเนินการ • การเปิดเผย ความโปร่งใส • การแข่งขันอย่างเป็นธรรม

  4. การจัดหา 1.การจัดทำเอง 2. การซื้อ 3. การจ้าง 4. การจ้างที่ปรึกษา 5. การจ้างออกแบบ ควบคุมงาน 6. การแลกเปลี่ยน 7. การเช่า การจัดการ 1. การยืม 2. การควบคุม การเก็บรักษา การเบิกจ่าย การตรวจสอบ 3. การบำรุงรักษา 4. การจำหน่าย การบริหารงานด้านพัสดุ

  5. การซื้อ หมายความถึง กรณีที่ผู้ขายสินค้าได้มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของนั้นๆไว้แล้วตามตัวอย่าง หรือแค็ตตาล็อก เมื่อผู้ซื้อสั่งซื้อ ผู้ขายจึงจะดำเนินการผลิตตามตัวอย่าง หรือแค็ตตาล็อก นั้นๆ นอกจากนี้ ผู้ซื้อยังสามารถสั่งให้ผู้ผลิตหรือผู้ขายจัดทำรายการใดๆ เพิ่มเติมนอกเหนือไปจากรูปแบบที่กำหนดไว้ในตัวอย่าง หรือแค็ตตาล็อก เป็นพิเศษอีกก็ได้ การจ้างทำของ หมายความถึง ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะจ้างทำนั้นก่อน แล้วจึงจะนำแบบที่ได้ไปจ้างผู้รับจ้างให้จัดทำพัสดุตามแบบ ที่ผู้ว่าจ้างต้องการ ความหมาย

  6. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงานระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน พัสดุ งบประมาณ บัญชี การเงิน

  7. กระบวนการบริหารงานพัสดุกระบวนการบริหารงานพัสดุ งานประจำ กำหนดความต้องการ งานโครงการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ

  8. ผังการจัดหา ตรวจสอบงบประมาณ / ยื่นคำขอให้จัดหา 1. ผู้ขอให้จัดหา รายงาน 2. เจ้าหน้าที่พัสดุ ไม่เห็นชอบ ยกเลิก / ดำเนินการใหม่ เห็นชอบ 3. หน.ส่วนราชการ 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ /คณะกรรมการ ดำเนินการจัดหา ไม่อนุมัติ อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 5. หน.พัสดุ / หน.ส่วนราชการ ปลัดกระทรวง / รมว. อนุมัติ แก้ไข เลิกสัญญา งด ลดค่าปรับ ขยายสัญญา 6. หน.ส่วนราชการ จัดทำสัญญา ตรวจรับ 7. ผู้ตรวจรับ /คณะกรรมการ การบริหารสัญญา คืนแก้ไข ให้ถูกต้อง 8. หน.ส่วนราชการ เห็นชอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 9. เจ้าหน้าที่การเงิน เบิกจ่ายเงิน ไม่จ่ายเงิน

  9. 12. จัดทำหนังสือ อนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 15. ตรวจสอบหลักประกันสัญญา และจัดทำสัญญา 13. ประกาศรายชื่อผู้ชนะการ เสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 14. จัดทำร่างสัญญา 17. บริหารสัญญา 16. ข้อมูลสาระสำคัญ ในสัญญา 18. ลงทะเบียนทรัพย์สินตั้งเบิก/เบิกจ่าย กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบ e-GP 7. ประกาศเชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 8บันทึกรายชื่อผู้ขอรับ เอกสาร/ซื้อเอกสาร 5. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง และแต่งตั้งคณะกรรมการ 6. จัดทำเอกสารสอบราคา/ ประกวดราคา/ประกวดแบบ/ จัดทำประกาศเชิญชวน 4. ร่าง TOR และร่างเอกสาร /ปรับปรุงร่าง TOR และร่างเอกสาร ยื่นหลักประกัน 2. จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ ซื้อซอง online 9 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 3. สร้างโครงการ จัดซื้อจัดจ้าง 1. ได้รับงบประมาณ ประจำปี 10. บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการ พิจารณา และแจ้งผลการพิจารณา ขั้นตอนในระบบ GFMIS ขั้นตอนที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 2 ขั้นตอนที่มีอยู่เดิมในระบบ e-GP 1 11. นัดหมายเสนอราคา และแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา มีขั้นตอนย่อยที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 2 นำข้อมูลงบประมาณ จาก GFMIS เข้า e-GP ระบบ GFMIS นำข้อมูล PO จาก e-GP เข้า GFMIS

  10. 10 1 4 7 จ้างออกแบบวิธีคัดเลือก จ้างที่ปรึกษาวิธีตกลง วิธีตกลงราคา วิธี e-Auction จ้างออกแบบวิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด 2 5 8 11 จ้างที่ปรึกษาวิธีคัดเลือก วิธีพิเศษ วิธีสอบราคา 12 6 3 9 จ้างออกแบบวิธีตกลง จ้างออกแบบวิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีประกวดราคา วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง

  11. คน เงิน งาน เวลา ความเสี่ยง การบริหาร สมรรถนะ ผู้ปฏิบัติงานพัสดุ IT กฎหมายและระเบียบ

  12. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ

  13. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ - วางตัวเป็นกลาง - ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตสำนึก โปร่งใส ตรวจสอบได้ - มีทัศนคติที่ดี พัฒนาตนเองอยู่เสมอ - ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ - ใช้ทรัพย์สินอย่างคุ้มค่า ประหยัด มีประสิทธิภาพ - คำนึงถึงประโยชน์ของหน่วยเป็นหลัก ยึดหลักความถูกต้อง ยุติธรรมความสมเหตุสมผล - ร่วมงานกับผู้บังคับบัญชา/ผู้ร่วมงาน ด้วยความเอาใจใส่ ร่วมมือช่วยเหลือแก้ไขปัญหา และพัฒนางาน

  14. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ (ต่อ) - ไม่เรียก/รับ/ยอมรับ--------->ทรัพย์สิน/ผลประโยชน์ จากผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ - ปฏิบัติต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยความเป็นธรรม เอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ และต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อการแข่งขันอย่างเสรี/ เป็นธรรม - ร่วมกับทุกฝ่าย สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้เกี่ยวข้องให้พัฒนางานเป็นวิชาชีพเฉพาะสาขาหนึ่ง - ผู้บังคับบัญชาพึงเอาใจใส่ผู้ปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษา/คำแนะนำการปฏิบัติงานรับฟังความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล (มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2543 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร0205/1123 ลงวันที่ 26 มกราคม 2543 และหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)1305/ว 2324 ลงวันที่ 13 มีนาคม 2543)

  15. การบริหารงานพัสดุ เงิน คน การบริหารจัดการ พัสดุ

  16. ผู้มีอำนาจ คน ผู้ปฏิบัติ • แผนการจัดหา • ดำเนินการ • สั่งซื้อสั่งจ้าง • จัดทำสัญญา • เจ้าหน้าที่พัสดุ • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะกรรมการ ผู้ตรวจสอบ ผู้ค้า

  17. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) • ตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ • พิจารณาอนุมัติยกเว้น หรือผ่อนผันการไม่ปฏิบัติ ตามระเบียบ • กำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางและวิธีปฏิบัติเพื่อให้มีการปฏิบัติตามระเบียบ

  18. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • หัวหน้าส่วนราชการ • ปลัดกระทรวง • รัฐมนตรีเจ้าสังกัด • ผู้รับมอบอำนาจ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ ผู้มีอำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้รับมอบอำนาจ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • ดำรงตำแหน่ง • แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่พัสดุ

  19. จงตอบคำถาม ดังต่อไปนี้ ฉันเป็นใคร ? ฉันต้องทำอะไร ? ฉันต้องทำที่ไหน ? ฉันต้องทำอย่างไร ? ฉันต้องทำเมื่อใด ?

  20. คณะกรรมการ

  21. คณะกรรมการ ข้อ 79 คณะกรรมการ ข้อ 34 • ดำเนินการจ้างที่ปรึกษา • โดยวิธีตกลง • โดยวิธีคัดเลือก • เปิดซองสอบราคา • รับและเปิดซองประกวดราคา • พิจารณาผลการประกวดราคา • จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • ตรวจรับพัสดุ • ตรวจการจ้าง • ตกลงราคา ไม่เกิน 10,000 บาท ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย • เป็นผู้ตรวจรับ แทนได้

  22. องค์ประกอบคณะกรรมการ (2535) • ข้าราชการ • พนักงานราชการ • พนักงานมหาวิทยาลัย • พนักงานของรัฐ • ลูกจ้างประจำ องค์ประกอบ • ประธาน 1 คน • กรรมการอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจาก บุคคลอื่นไม่เกินสองคน จำเป็นหรือประโยชน์ทางราชการ ลูกจ้างชั่วคราว .. ลูกจ้างตามสัญญาจ้าง ..?

  23. องค์ประชุม • ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง • ประธานต้องอยู่ • ประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ .. แต่งตั้งผู้อื่นแทน • เปิดซองสอบราคาหรือ รับซองประกวดราคา • ประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่ .. กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธานแทน

  24. มติ • เสียงข้างมากของผู้มาประชุม • เท่ากัน + ประธานเพิ่ม • ไม่เห็นด้วยต้องทำบันทึกแย้ง • ตรวจรับพัสดุ • ตรวจการจ้าง เอกฉันท์

  25. ข้อห้าม • เปิดซองสอบราคา / พิจารณาผลการประกวดราคา • เป็น • ตรวจรับ • แต่ไม่ห้าม • เป็นตรวจการจ้าง รับและเปิดซองประกวดราคา เป็น พิจารณาผลการประกวดราคา

  26. เงิน

  27. พัสดุ ’ 35 : เงินงบประมาณ • งบประมาณรายจ่าย • ประจำปี • เพิ่มเติม • เงินที่ได้รับอนุญาตไม่ต้องนำส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณ • เงินบำรุงหน่วยบริการในสังกัด สธ. • เงินกู้ • เงินช่วยเหลือ • ต้องทราบยอดเงินที่ใช้ในการจัดหา

  28. วงเงินการจัดหา • เงินรายได้มหาวิทยาลัย • เงินรับบริจาค • อิงหลักเกณฑ์ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ • หากจะต้องดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างจากผู้ผลิตและจำหน่ายโดยตรง ใช้วิธีพิเศษ

  29. - การจัดหาต้องทราบยอดเงิน - • คำว่า “ทราบยอดเงิน” หมายความถึง การทราบยอดเงินงบประมาณประจำปีที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากรัฐสภา หรือได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณแล้ว

  30. พัสดุ

  31. ความหมาย • การพัสดุ หมายความว่า การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจำหน่ายและการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ • พัสดุ หมายความว่า วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่กำหนดไว้ในหนังสือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามสัญญาเงินกู้จากต่างประเทศ

  32. พัสดุ วัสดุ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง พัสดุ คืออะไร ครุภัณฑ์ (จำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ)

  33. ข้อสังเกตวัสดุ : ครุภัณฑ์ ลักษณะสิ่งของ : วงเงิน

  34. รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วย หรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท วัสดุ : ครุภัณฑ์

  35. รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท วัสดุ : ครุภัณฑ์ • รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงิน ไม่เกิน 5,000 บาท • รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท

  36. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ตามปกติแต่ไม่รวมถึงค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ตามปกติแต่ไม่รวมถึงค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์ รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมแซมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง วัสดุ : ครุภัณฑ์ • รายจ่ายดังกล่าวให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง • รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์

  37. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างโดยลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ • รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดิน • รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดินให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท • รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงสิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท • รายจ่ายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้าหรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้างอาคารรวมถึงการติดตั้งครั้งแรกในสถานที่ราชการ • รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิติบุคคล • รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน

  38. ค่าสาธารณูปโภค • รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ตามรายการ ดังนี้ (1) ค่าไฟฟ้า (2) ค่าประปา ค่าน้ำบาดาล (3) ค่าโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์พื้นฐาน ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมถึงบัตรโทรศัพท์ บัตรเติมเงินโทรศัพท์

  39. ค่าสาธารณูปโภค (4) ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าโทรเลข ค่าธนาณัติ ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าคู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร เป็นต้น (5) ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้ซึ่งบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น ค่าโทรภาพ(โทรสาร) ค่าเทเลกซ์ ค่าวิทยุติดตามตัว ค่าวิทยุสื่อสาร ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม ค่าจ่ายเกี่ยวกับการใช้ระบบอินเทอร์เน็ตรวมถึงอินเตอร์เน็ตการ์ด และค่าสื่อสารอื่น ๆ เช่น ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น

  40. ค่าสาธารณูปโภค…ต้องจัดหา ? • การเช่าใช้บริการเครือข่ายสื่อสารโทรคมนาคม • การขอใช้บริการ internet • มีการติดตั้งอุปกรณ์ • ไม่มีการติดตั้ง • เบิกจ่ายค่าสาธารณูปโภค • บัตรโทรศัพท์ (ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0421.3/ว275 ลว 5 ส.ค.2553)

  41. การประกันภัยรถราชการ • รถราชการต้องจัดให้มีการประกันภัยภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 • การประกันภัยภาคสมัครใจ ให้ส่วนราชการพิจารณาตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ • ค่าใช้จ่ายจากงบประมาณหรือเงินอื่นใดของส่วนราชการ (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2548)

  42. การประกันภัยรถราชการ • การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการประกันภัยรถราชการใช้งบประมาณหรือเงินอื่นใดของส่วนราชการ • ต้องเป็นรถราชการ • ประเภท • ภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 • ภาคสมัครใจ • ตามความจำเป็นและเหมาะสมกับภารกิจของแต่ละหน่วยงาน • เป็นอำนาจของคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ • เบิกไม่ได้ ..... รถเช่า .....รถส่วนตัว (ว 349 ลว 8 กันยายน 2548)

  43. การบริหารจัดการ กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

  44. กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ • การจัดทำคำของบประมาณ • การก่อหนี้ผูกพัน • การเบิกจ่ายเงิน • บทลงโทษการฝ่าฝืน

  45. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ • หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • การใช้รายจ่าย • การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย • การรายงานผลการปฏิบัติงาน

  46. กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ • จัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการ • ประกาศสอบราคา • ประกาศประกวดราคา • ผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง • สรุปผลเป็นรายเดือนทุกเดือน รายละเอียด • งานที่จัดซื้อจัดจ้าง • วงเงินงบประมาณ • วิธีซื้อหรือจ้าง • รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ • ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกและเหตุผล

  47. กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • คำสั่งทางปกครอง • การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อ หรือเช่า • การสั่งอนุมัติซื้อ หรือจ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย หรือให้เช่า • การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ • การสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน • การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

  48. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 1 - มีหน้าที่ปิดประกาศ จัดส่งเอกสาร - ละเลยไม่ปิดปิดประกาศหรือจัดส่งหรือเผยแพร่ - ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน โทษชั้นที่ 2 - มีหน้าที่เบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชี - ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 2 เดือน ถึง 4 เดือน

  49. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 3 - มีหน้าที่พิจารณาผลปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้ หรือควรจะรู้ เกิดความเสียหาย - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 5 เดือน ถึง 8 เดือน โทษชั้นที่ 4 - มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติโดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ จัดจ้าง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 12 เดือน

  50. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐกฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. รู้ ควรรู้ แต่ไม่ยกเลิกการดำเนินการ โทษจำคุก 1 - 10 ปี ปรับ 20,000 – 200,000 บาท 2. ออกแบบ กำหนดราคา เงื่อนไข ผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วย กีดกันผู้เสนอราคา โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท 3. กระทำการมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท

More Related