1 / 33

การปรับปรุงกระบวนการลดเวลาในการนอน รพ. ของผู้ป่วย SLE ที่มารับยา pulse endoxan

การปรับปรุงกระบวนการลดเวลาในการนอน รพ. ของผู้ป่วย SLE ที่มารับยา pulse endoxan. สภาพข้อมูลปัจจุบัน. 1. คลินิกโรคไตเปิดให้บริการในวันพฤหัสบดี สัปดาห์ละ 1 วัน เวลา 13.00 น. – 16.30 น. 2. ผู้ป่วย SLE มารับบริการและ admit เพื่อให้ยา pulse endoxan เฉลี่ย 3 ราย / สัปดาห์

tirzah
Télécharger la présentation

การปรับปรุงกระบวนการลดเวลาในการนอน รพ. ของผู้ป่วย SLE ที่มารับยา pulse endoxan

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปรับปรุงกระบวนการลดเวลาในการนอน รพ. ของผู้ป่วย SLE ที่มารับยา pulse endoxan

  2. สภาพข้อมูลปัจจุบัน 1. คลินิกโรคไตเปิดให้บริการในวันพฤหัสบดี สัปดาห์ละ 1 วัน เวลา 13.00 น. – 16.30 น. 2. ผู้ป่วย SLE มารับบริการและadmit เพื่อให้ยา pulse endoxanเฉลี่ย 3 ราย / สัปดาห์ 3. ระยะเวลาในการนอน รพ. เฉลี่ย 2 วัน 2 คืน

  3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดระยะเวลาในการนอน รพ. 2. ลดค่าใช้จ่ายในการนอน รพ. 3. เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในการ admit ผู้ป่วย

  4. Key process chart ( Pre Lean )ใช้เวลาทั้งกระบวนการ 45 ชม. 35 นาที พยาบาลให้คำแนะนำ ก่อน admit 10 นาที Register 1 นาที รอพบแพทย์ 2 ชม. พบแพทย์+สั่งadmit 5 นาที รอแพทย์รับ admit 1 ชม. Ward รับ admit 5 นาที รอเตียง 30 นาที รอการสั่งยา 13 ชม. รอยา 2 ชม. พยาบาลรับ order +สั่งหัตถการ 2 นาที รอพยาบาลรับ order 7 นาที แพทย์สั่งยา 5นาที รอแพทย์ให้ยา 1 ช.ม. hydration 24 ชม. ผู้ป่วยรับยา 1 ชม. D/C 30นาที

  5. สาเหตุหลักที่ก่อเกิดปัญหาสาเหตุหลักที่ก่อเกิดปัญหา • จากการวิเคราะห์กระบวนการหลักพบ MUDA มากที่สุดในขั้นตอนการรอคอยยาเคมีบำบัด • จึงมีความประสงค์ที่จะแก้ไข MUDA ในเรื่อง -การลดขั้นตอนการสูญเสียเวลารอ คอยการให้ยาเคมีบำบัด

  6. กระบวนการแก้ปัญหาแนวทางการปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่า : ECRS • Eliminate : การขจัดออก/การกำจัด

  7. Combine:การรวบรวม

  8. Re-arrange:ลำดับใหม่

  9. Simplify:ปรับปรุงใหม่

  10. Key process chart ( Post Lean )เวลาที่ใช้ 24 ชม. 21 นาที พบแพทย์+สั่งadmit +สั่งยา 10 นาที รอพบแพทย์ 30นาที พยาบาลให้คำแนะนำ ก่อนadmit 10นาที Register 1 นาที Ward รับ admit 1 นาที รอเตียง 40นาที รอยา 2 ช.ม. พยาบาลรับorder+สั่งหัตถการ 9นาที พยาบาลเปิดเส้น 5 นาที รอแพทย์ให้ยา 1 ช.ม. Post hydration 18 ชม. ผู้ป่วยรับยา 1 ชม. D/C 40 นาที

  11. เปรียบเทียบผลการดำเนินการที่คาดว่าจะเป็นเปรียบเทียบผลการดำเนินการที่คาดว่าจะเป็น

  12. ปัญหาอุปสรรค • ตามที่ plan ไว้ ระยะเวลาในการนอน รพ. ควรจะใช้เวลา 24 ชม. - มีอาจารย์อีกท่านต้องการให้ hydration 24 ชม. - มีผู้ป่วยบางรายต้องการให้ hydration 24 ชม. เหมือนเดิม - ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถกลับบ้านได้ทัน จึงมีการยืดหยุ่น

  13. เก็บข้อมูลใหม่จาก พ.ย.52 – ม.ค.53 • ผู้ป่วยDx. SLE 16ราย มาAdmit เพื่อรับยา 7 ราย (อ. 1 = 1 ราย , อ. 2 =6ราย ) ผู้ป่วยคนที่ 1 ใช้เวลา 42 ชม. ผู้ป่วยคนที่ 2 ใช้เวลา 43 ชม. ผู้ป่วยคนที่ 3 ใช้เวลา 44 ชม. ผู้ป่วยคนที่ 4 ใช้เวลา 28 ชม.(อ. 1) ผู้ป่วยคนที่ 5 ใช้เวลา 42 ชม. 30 นาที ผู้ป่วยคนที่ 6 ใช้เวลา 42 ชม. ผู้ป่วยคนที่ 7 ใช้เวลา 44 ชม. เฉลี่ย 42 ชม. 37 นาที (ยกเว้นรายที่ 4)

  14. เปรียบเทียบผลการดำเนินการเปรียบเทียบผลการดำเนินการ

  15. ปัญหาอุปสรรค ไม่มีเตียง admit การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ขาดการสื่อสาร ขาดการทำงานเป็นทีม

  16. ลดจำนวนวันนอนผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจลดจำนวนวันนอนผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ ที่นัดมาทำ cardiac catheterization LEAN ภาควิชากุมารเวชศาสตร์

  17. คณะกรรมการ และที่ปรึกษา นพ.ศุภชัย เจนจินดามัย ประธานคณะกรรมการ พญ.สุภาพร โรยมณี กรรมการ นพ.นครินทร์ ตนคลัง กรรมการ คุณศุภลักษณ์ พุทธรักษ์ กรรมการ คุณเบญจมาศ สัตยเสวนา เลขานุการ นพ.สมชาย สุนทรโลหะนะกูล ที่ปรึกษา

  18. สภาพข้อมูลปัจจุบัน • คลินิกโรคหัวใจเด็ก เปิดให้บริการ สัปดาห์ละ 2 วัน คือ วันจันทร์ เวลา 9.00 -12.00 น. และ วันพุธ เวลา 13.00 -16.30 น. • ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ ที่นัดมาทำ cardiac catheterization • มีจำนวนประมาณ 20 ราย : เดือน • ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลเฉลี่ย • 2 วัน 3 ช.ม. 7 นาที

  19. วัตถุประสงค์ เพื่อเวลาในการนอน รพ. เพื่อค่าใช้จ่ายในการนอน รพ. เพื่อ สภาพคล่องในการ admit ผู้ป่วย

  20. Patient selection criteria • Elective cardiac cath case • Uncomplicated case • อายุ > 2ปี • น้ำหนัก > 15 Kg • Patient’s caregiver available

  21. Key process chart ( Pre Lean )ใช้เวลาวันที่ 1 = 1, 410 นาที ( 23 ช.ม. 30 นาที) Day 1 ที่OPD ขึ้นลิฟต์จาก OPD (ชั้น1) ไปศูนย์ฯ 10 นาที ผู้ป่วยregister ที่OPD 2 นาที ซักประวัติ ตรวจสอบสิทธิ์ 10 นาที ชั่งนน, วัดส่วนสูง, วัด V/SBT 5 นาที Registerพยาบาล ศูนย์ฯ ซักประวัติ 5 นาที รอชำระเงิน 15 นาที ผู้ป่วยลงลิฟต์จาก ชั้น9 ไปชั้น 1 10 นาที ทำแฟ้มadmit, inform consent, โทรฯ แจ้ง ward 25 นาที พบแพทย์ 10 นาที รอพบแพทย์ เฉลี่ย 45 นาที เดินทางไป หน่วยX-ray 5 นาที Register เพื่อ ทำ X-ray และ เปลี่ยนเสื้อผ้า8นาที เดินทางไป หน่วย EKG 3 นาที ทำX-ray เปลี่ยนเสื้อผ้า 10 นาที ชำระเงิน 2 นาที รอทำ X-Ray 10 นาที ทำ EKG 10 นาที รอทำEKG 10 นาที ผู้ป่วย admit 1 คืน (20 ชม.) ขึ้นลิฟต์จากชั้น 1 ไป ward เพื่อ admit 10 นาที Registerเพื่อทำ EKG 5 นาที

  22. Key process chart ( Pre Lean )ใช้เวลาวันที่ 2 = 1,450นาที ( 24 ชม. 10 นาที) Day 2 ที่ WARD เตรียมส่งผู้ป่วย, รับแจ้งจากศูนย์, ขอเปล เช็คอุปกรณ์ 25 นาที พยาบาลทำดูแลเรื่องNPO V/S ทำความสะอาดร่างกาย เตรียม ความพร้อมอื่นๆ 20 นาที Sedate วัดV/S 5 นาที รอเปล 10 นาที ผู้ป่วยไปobserve ต่อ ที่ห้องพักฟื้นในรายที่ ดมยา60 นาที ทำหัตถการ สวนหัวใจ 100 นาที รอเข้าห้อง Cath 45 นาที พนักงานเปลรับ จาก wardไป ศูนย์ 10 นาที ส่งผู้ป่วยไป observe 15 นาที พยาบาลจัดท่าผู้ป่วยbed rest ส่งตรวจLab, CXRและ post op cath care6 ช.ม. Admit ต่ออีก1 คืน (13 ช.ม.) รอเปล 10 นาที พนักงานเปลรับ จากORไป ward10 นาที

  23. Key process chart ( Pre Lean )ใช้เวลาวันที่ 3 = 240นาที ( 4 ช.ม.) Day 3 ที่ward พนักงานเปลรับจาก ward ไปทำ echo post intervention 10 นาที เช้าพยาบาลดูแลก่อน ไปทำ Echo ที่ศูนย์ โรคหัวใจ 45 นาที ทำecho post intervention 45 นาที รอเปล 10 นาที ผู้ป่วยลงไปติดต่อ การเงินที่ชั้น 1 10 นาที พนักงานเปลรับ กลับ ward 10 นาที รอเปล 10 นาที แพทย์order ให้d/c 45 นาที พยาบาล สรุปข้อมูล 15 นาที ชำระเงินและ รับยา 20 นาที กลับward 10 นาที รอเปล 10 นาที กลับบ้าน ก่อนเที่ยง

  24. ประสิทธิภาพ Pre lean = ( 1,279 / 3,100 ) x 100 = 41.26 % รวมเวลาในการ admit (Pre Lean) = 2 วัน 3 ช.ม. 40 นาที 3,100 นาที ( 51 ช.ม. 40 นาที)

  25. การบริหารจัดการ เมื่อนัดผู้ป่วยมาสวนหัวใจ ให้คำแนะนำ และเอกสารแผ่นพับการสวนหัวใจ ในเด็ก, ใบ check listสำหรับผู้ป่วยก่อนมา สวนหัวใจ ส่งทำ CXR, EKG, lab ไว้ก่อน ส่งsurgical day careพบวิสัญญีแพทย์ ประเมิน

  26. การบริหารจัดการ หน่วยโรคหัวใจเด็ก จองเตียงล่วงหน้าที่ คลินิกเด็ก 1 วัน ก่อนมา หน่วยฯ ติดต่อเช็คเตียงกับคลินิกเด็ก แพทย์ทำ admit ล่วงหน้า /pre op order ฝากแฟ้ม admitที่หอผู้ป่วยเด็ก 1 วันมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมาที่หอผู้ป่วยเด็กเลย Setเป็น case 2-3เริ่มประมาณ 11 น.

  27. ตัวอย่าง check listสำหรับผู้ป่วยก่อนมาสวนหัวใจ โทรยืนยันการมาสวนหัวใจล่วงหน้า 1 สัปดาห์ งด น้ำและอาหาร เวลา................วันที่............................ กรณีทานยา aspirin งดยาวันที่................................... ( ก่อนมาถ้ามีไข้ ไอ มีน้ำมูก ท้องเสีย มีอาการผิดปกติให้โทรฯ แจ้งหน่วยโรคหัวใจเด็กก่อนเพราะอาจต้องยกเลิกการสวน หัวใจไปก่อน)

  28. หอผู้ป่วย รับ admit ผู้ป่วยเช้าวันที่ทำหัตถการ วัด v/s, ประเมินความพร้อมผู้ป่วย Pre op order; on heparin lock / เปิดเส้นให้ IV อุปกรณ์ หอผู้ป่วยเตรียมไว้เป็นชุดล่วงหน้า สำหรับนำไปศูนย์ โรคหัวใจฯ ได้แก่ ไม้ดามขา, NSS (500 ml) 5 bag, 1% Xylocain (20 ml) 1 vial, heparin (1:100) 1vail (1:5000)1 vial, O2 mask, collugate, nebulizer และ ถัง Oxygen

  29. Key process chart ( Post Lean )ใช้เวลาวันที่ 1 = 1,440นาที ( 24 ชม. ) Day 1 ที่ WARD ทำหัตถการ สวนหัวใจ 100 นาที รับผู้ป่วย: V/S ประเมิน,On IV 20 นาที รอเปล 10 นาที ส่งผู้ป่วย 10 นาที รอแพทย์ 30 นาที P/O care;ห้ามงอขา, Observe, nursing, lab, record 6 ชม. (360 นาที) พนักงานเปลรับ กลับ ward 10 นาที รอเปล 10 นาที Admit 1 คืน 14ช.ม.

  30. Key process chart ( Post Lean )ใช้เวลาวันที่ 2 = 240นาที ( 4 ช.ม.) Day 2 ที่ward พนักงานเปลรับจาก ward ไปทำ echo post intervention 10 นาที เช้าพยาบาลดูแลก่อน ไปทำ Echo ที่ศูนย์ โรคหัวใจ 45 นาที ทำecho post intervention 45 นาที รอเปล 10 นาที ผู้ป่วยลงไปติดต่อ การเงินที่ชั้น 1 10 นาที พนักงานเปลรับ กลับ ward 10 นาที รอเปล 10 นาที แพทย์order ให้d/c 45 นาที พยาบาล สรุปข้อมูล 15 นาที ชำระเงินและ รับยา 20 นาที กลับward 10 นาที รอเปล 10 นาที กลับบ้าน ก่อนเที่ยง

  31. ประสิทธิภาพPost lean = ( 1, 505 / 1, 680 ) x 100 = 89.58% 3,100 นาที 1,680 นาที ( จาก 51 ชม. 40 นาที เป็น 28 ชม. ) ( ลดได้ 23 ชม. 40 นาที/ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 48.32% )

  32. เป็นการเพิ่มwork loadให้กับเจ้าหน้าที่ในบางส่วน เช่น เจ้าหน้าที่ในหน่วย, surgical day care, วิสัญญีแพทย์ อาจไม่มีเตียง admit ปัญหาและอุปสรรค

  33. ขอบคุณค่ะ

More Related