1 / 34

แนวคิดในการประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายของภาครัฐ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ตรวจสอบภายในส่วนของการประเมินผลการคลังด้านรายจ่าย. แนวคิดในการประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายของภาครัฐ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง. ดร. รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง. ทบทวนก่อนเข้าประเด็น. บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่.

Télécharger la présentation

แนวคิดในการประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายของภาครัฐ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ตรวจสอบภายในส่วนของการประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ตรวจสอบภายในส่วนของการประเมินผลการคลังด้านรายจ่าย แนวคิดในการประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายของภาครัฐ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดร. รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง

  2. ทบทวนก่อนเข้าประเด็น บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ ความคาดหวังที่มีต่อการตรวจสอบจากการฝ่ายบริหาร

  3. บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในกับการเป็นที่ปรึกษาการใช้จ่ายภาครัฐบทบาทของผู้ตรวจสอบภายในกับการเป็นที่ปรึกษาการใช้จ่ายภาครัฐ

  4. การพิจารณาเกี่ยวกับการใช้จ่ายภาครัฐโดยผู้ตรวจสอบภายในการพิจารณาเกี่ยวกับการใช้จ่ายภาครัฐโดยผู้ตรวจสอบภายใน • การประเมินภาพรวมการใช้จ่ายตามมุมมองผู้บริหารการใช้จ่ายภาครัฐ • กระทรวง/หน่วยงาน-ภาพรวมการเบิกจ่ายรายปี รายเดือน แผน/ผล • ลักษณะยุทธศาสตร์ • ลักษณะเศรษฐกิจ • รายกิจกรรม (ประจำ ลงทุน อุดหนุน อื่น ดำเนินงาน) • การบริหารกระแสเงินสดของประเทศ • ภาพรวมการใช้จ่าย (การบริหารเงินสด) รายโครงการ • การประเมินประสิทธิภาพรายโครงการ • การประเมินประสิทธิผลรายโครงการ กรมบัญชีกลาง/ ผู้บริหารหน่วยงาน

  5. ภาพรวมการเบิกจ่าย : อัตราการเบิกจ่ายรายเดือน • การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายสะสม ทำให้ทราบถึงประสิทธิภาพโดยรวมของหน่วยงานในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมาย • การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายรายเดือน ทำให้ทราบถึงรูปแบบการเบิกจ่ายตามฤดูกาล ทำให้ผู้บริหารสามารถประเมินประสิทธิภาพของหน่วยงานในการเบิกจ่ายได้อย่างใกล้ชิดเพื่อการพัฒนาการบริหารจัดการโครงการของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายทำได้ 2 แบบ • การดูอัตราการเบิกจ่ายสะสม (Stock) • การดูอัตราการเบิกจ่ายรายเดือน (Flow)

  6. ภาพรวมการเบิกจ่าย:อัตราการเบิกจ่ายจำแนกตามงบรายจ่ายภาพรวมการเบิกจ่าย:อัตราการเบิกจ่ายจำแนกตามงบรายจ่าย การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายจำแนกตามงบรายจ่าย--ทำให้ทราบถึงแนวโน้มการเบิกจ่ายตามฤดูกาลของงบรายจ่ายแต่ละประเภท ซึ่งจะมีประโยชน์ในการปรับปรุงแผนการเบิกจ่ายให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการเบิกจ่ายของงบรายจ่ายแต่ละประเภท

  7. ภาพรวมการเบิกจ่าย : อัตราการเบิกจ่ายรายกระทรวง การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายรายกระทรวง --ทำให้ทราบถึงประสิทธิภาพการเบิกจ่ายของแต่ละกระทรวง เพื่อให้กรมบัญชีกลางสามารถนำไปเป็นแนวทางในการเร่งรัดการเบิกจ่าย

  8. การเบิกจ่าย:สัดส่วนการเบิกจ่ายจำแนกตามยุทธศาสตร์ การเบิกจ่าย:สัดส่วนการเบิกจ่ายจำแนกตามยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สัดส่วนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์--ทำให้ทราบถึงนโยบายของรัฐบาลในการจัดสรรงบประมาณว่าให้ความสำคัญกับประเด็นยุทธศาสตร์ใด หากยุทธศาสตร์ใดมีการจัดสรรเงินงบประมาณในสัดส่วนที่มาก ก็อาจตีความได้ว่ารัฐบาลให้น้ำหนักการพัฒนาประเทศในประเด็นยุทธ์ศาสตร์นั้นมาก

  9. การเบิกจ่าย : สัดส่วนการเบิกจ่าย(สะสม)/อัตราการ การวิเคราะห์สัดส่วนการเบิกจ่ายรายเดือน (สะสม) จำแนกตามยุทธศาสตร์ --แสดงรูปแบบการเบิกจ่ายในแต่ละเดือน ทำให้ทราบถึงรูปแบบของการเบิกจ่ายในแต่ละยุทธศาสตร์ว่ามีการเบิกจ่ายสูงในช่วงใด และการเบิกจ่ายนั้นสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลหรือไม่ การวิเคราะห์อัตราการเบิกจ่ายรายเดือนมีประโยชน์ในการประเมินประสิทธิภาพของการกำหนดงวดเบิกจ่ายที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้เป็นภาระต่อกระแสเงินสดของรัฐบาล และเพื่อให้ผลผลิตของแต่ละยุทธศาสตร์ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย

  10. การเบิกจ่ายจำแนกตามเศรษฐกิจ : อัตราการเบิกจ่ายฯ “การวิเคราะห์นอกจากแสดงให้เห็นถึงสัดส่วนงบประมาณที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลแล้ว ยังต้องมองถึงประสิทธิภาพการเบิกจ่ายในแต่ละด้านด้วย เนื่องจากถึงแม้ว่ารัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณลงไปมากแต่ประสิทธิภาพด้านการเบิกจ่ายต่ำ เม็ดเงินที่จัดสรรไปย่อมไม่สามารถนำไปใช้ให้เกิดความสำริดผลตามเป้าประสงค์” จำแนกตามมุมมองของ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)

  11. การบริหารกระแสเงินสดของประเทศการบริหารกระแสเงินสดของประเทศ การวิเคราะห์ปริมาณการเบิกจ่ายเปรียบเทียบกับรายได้จัดเก็บในแต่ละช่วงเวลาของปี สามารถแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มกระแสรายรับและกระแสรายจ่าย ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการเบิกจ่ายสำหรับปีงบประมาณหน้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ แผนการเบิกจ่ายที่ดีและมีประสิทธิภาพ คือ แผนการเบิกจ่ายที่ทำให้กระแสเงินสด (ดุลการคลัง) อยู่ในภาวะสมดุล หรือขาดดุลน้อยที่สุด ดุลการคลังเกินดุล ดุลการคลังขาดดุล

  12. รูปแบบเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการลงทุนรายสาขาเศรษฐกิจรูปแบบเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการลงทุนรายสาขาเศรษฐกิจ

  13. รูปแบบเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการลงทุนรายสาขาเศรษฐกิจ (ต่อ)

  14. รูปแบบเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อลงทุนรายสาขาเศรษฐกิจ (ต่อ)

  15. รูปแบบเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อการลงทุนรายสาขาเศรษฐกิจ (ต่อ)

  16. ตัวอย่างการเปรียบเทียบรูปแบบการเบิกจ่ายตัวอย่างการเปรียบเทียบรูปแบบการเบิกจ่าย กระทรวงคมนาคม

  17. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลแนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล การประเมินผลโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) ซึ่งหมายถึง การประเมินว่าการดำเนินโครงการสามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิตที่วางไว้หรือไม่ 2. การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งหมายถึง การประเมินว่าการดำเนินโครงการสามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดหรือไม่ โดยพิจารณาเปรียบเทียบต้นทุนที่ใช้ (อาทิเช่น เวลา และเงินงบประมาณ) กับผลผลิตที่ได้รับ

  18. ตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิผลตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิผล

  19. วิธีคำนวณตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิผลวิธีคำนวณตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิผล ดัชนีความคุ้มค่า ดัชนีความคุ้มค่า หรือ ความยืดหยุ่นของเป้าหมายผลผลิตเชิงปริมาณต่อเงินงบประมาณ (รายปีงบประมาณ) โดยสามารถคำนวณ ได้ดังนี้ ดัชนีความคุ้มค่า =งบประมาณ (ล้านบาท)/ร้อยละของความสำเร็จของผลผลิตเฉลี่ย หมายเหตุ: ร้อยละของความสำเร็จของผลผลิต คือ (ปริมาณผลผลิต/ปริมาณเป้าหมาย) x 100 ผลต่างมูลค่าเงินงบประมาณที่ขออนุมัติเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ใช้จ่ายจริง ผลต่างมูลค่าเงินงบประมาณเป็นการเปรียบเทียบ ระหว่างงบประมาณที่ขออนุมัติตามแผน กับงบประมาณที่ใช้จ่ายจริง โดยสามารถคำนวณดังนี้ ผลต่างมูลค่าเงินงบประมาณ = งบประมาณที่ขออนุมัติตามแผน – งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง

  20. แสดงการคำนวณค่าตัวชี้วัดประสิทธิผลการเบิกจ่ายแสดงการคำนวณค่าตัวชี้วัดประสิทธิผลการเบิกจ่าย

  21. ตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิภาพตัวชี้วัดในการประเมินประสิทธิภาพ

  22. ตัวอย่างการประเมินรายจ่ายภาครัฐโดยกรมบัญชีกลางตัวอย่างการประเมินรายจ่ายภาครัฐโดยกรมบัญชีกลาง

  23. องค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหารองค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร 1 สถานที่ติดต่อของผู้จัดทำ ส่วนเนื้อหา ซึ่งจะมีแผนภาพและบทวิเคราะห์ 3 2 Key data : ดัชนีชี้วัดที่น่าสนใจ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ภาคเศรษฐกิจพื้นฐาน ภาคการคลัง ภาคต่างประเทศ ภาคการเงิน

  24. องค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหารองค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 3 ส่วนเนื้อหา • นำข้อมูลที่ได้จากระบบประเมินผลมาทำการวิเคราะห์ ให้อยู่ในรูปแบบที่สั้นกระชับแลเข้าใจได้ง่าย เหมาะสำหรับผู้บริหาร • ลำดับของการนำเสนอเนื้อหา จะเริ่มจากการวิเคราะห์ภาพรวมของดุลการคลัง ก่อน จากนั้นจะตามด้วยการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเบิกจ่าย 3

  25. องค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหารองค์ประกอบของรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 3 ส่วนเนื้อหา 3.1 ในส่วนของการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเบิกจ่าย สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 3.1. สรุปข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ ส่วนที่ 3.2. แผนภาพหรือแผนภูมิแสดงข้อมูล ส่วนที่ 3.3. ประเด็นที่น่าสนใจที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล 3.3 3.2

  26. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายงบประมาณรายกระทรวงเปรียบเทียบการเบิกจ่ายงบประมาณรายกระทรวง งบประมาณเบิกจ่าย งบประมาณที่ยังไม่เบิกจ่าย

  27. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายงบประมาณ รายกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

  28. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายตามผลผลิตเปรียบเทียบการเบิกจ่ายตามผลผลิต กรมบัญชีกลาง แผน เบิกจ่ายจริง เบิกจ่ายจริง แผน

  29. ตัวอย่างการวิเคราะห์งบประมาณ กระทรวงพัฒนาสังคมและคุณภาพมนุษย์

  30. ตัวอย่างการวิเคราะห์งบประมาณ (ต่อ) กระทรวงพัฒนาสังคมและคุณภาพมนุษย์

  31. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายงบประมาณรายเดือนเปรียบเทียบการเบิกจ่ายงบประมาณรายเดือน รัฐวิสาหกิจ

  32. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายรายเดือน ตามแผน-ผล รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายใกล้เคียงกับแผนการเบิกจ่าย ทำให้ส่งผลดีต่อการวางแผนการบริหารของกรมบัญชีกลาง

  33. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายรายเดือน ตามแผน-ผล รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่ายไม่สอดคล้องกับแผนการเบิกจ่ายจำเป็นต้องดูแลการเบิกจ่ายในแต่ละโครงการ

  34. เปรียบเทียบการเบิกจ่ายรายโครงการ ประจำ/ลงทุน ลักษณะผลผลิต/โครงการที่ไม่ใช่งบลงทุน ลักษณะผลผลิต/โครงการที่เป็นงบลงทุน

More Related