1 / 41

ศรันยา งามศิริอุดม

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ การจัดการความรู้ เพื่อสนับสนุน ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปี ๒๕๕๔” ตามเกณฑ์คุณภาพการจัดการภาครัฐ (PMQA) โดย สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 27 – 28 ธันวาคม 2553. ศรันยา งามศิริอุดม. เป้าประสงค์หลักการพัฒนาระบบราชการไทย.

totie
Télécharger la présentation

ศรันยา งามศิริอุดม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการ“ การจัดการความรู้เพื่อสนับสนุน ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปี ๒๕๕๔” ตามเกณฑ์คุณภาพการจัดการภาครัฐ (PMQA) โดย สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข27 – 28 ธันวาคม 2553 ศรันยา งามศิริอุดม

  2. เป้าประสงค์หลักการพัฒนาระบบราชการไทยเป้าประสงค์หลักการพัฒนาระบบราชการไทย 1. การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม 3. ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้ เทียบเท่าสากล 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย

  3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน 3 การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ 4 การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ 5 การปรับเปลี่ยนกระบวนการทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม 6 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย 7 การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

  4. ใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(Public Sector Management Quality Award : PMQA)เพื่อการพัฒนาระบบราชการ

  5. ที่มาของเกณฑ์มาตรฐานและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่มาของเกณฑ์มาตรฐานและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldrige National Quality Award : MBNQA) รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)

  6. เปาหมายสูงสุดขององคกรทุกๆ แหง • นําพาองคกรสูความสําเร็จ • สามารถบรรลุวิสัยทัศนที่ไดวางไว • ประสบความสําเร็จอยางยั่งยืน • สามารถกอใหเกิดคุณคา/ประโยชนใหกับผูที่เกี่ยวของได • องคกรชั้นเลิศ (Excellence Organization) • องคกรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance • Organization: HPO)

  7. 7หมวดของการจัดการที่ดี7หมวดของการจัดการที่ดี P: ลักษณะสำคัญองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำองค์กร 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้

  8. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมู และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ 8

  9. หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6)Daily Management - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม การวัด การวิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผลการวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ- ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน- การเข้าถึง - เชื่อถือได้- ปลอดภัย- ใช้งานง่าย IT 4 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing

  10. "คนที่มีความพิเศษ" หรือ "Talent People" สถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยให้ความสนใจเรื่อง การจัดการความสามารถ : คนที่มีความพิเศษ (Talent People ) เข้าสู่เรื่องของการจัดการสินทรัพย์ทางปัญญา (IAM: Intellectual Assets Management)นั่นคือเรื่อง การจัดการเรื่องความรู้ (เรื่อง KM ) ทั้งนี้เพราะการจัดการสินทรัพย์/ ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital Management) จะเป็นการเปลี่ยนสิ่งที่คนที่มีความพิเศษ (Talent People) สร้างความรู้ออกมาให้กลายเป็นสินทรัพย์ทางปัญญา ถ้าใช้ KM อย่างถูกวิธี สินทรัพย์ทางปัญญาจะกลายเป็นทรัพย์สินทางปัญญาที่สร้างความมั่งคั่งให้กับธุรกิจและประเทศชาติ

  11. ความสำเร็จบรรลุวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ขององค์การ ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานการจัดการความรู้ในองค์การ วิเคราะห์ยุทธ์ศาสตร์แสวงหาความรู้ที่ต้องการสนับสนุนเพิ่มเติม ระบบการแสวงหาองค์ความรู้ ระบบการประเมินผล ความสำเร็จตามตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ รวบรวมTacit KnowledgeเExplicit Knowledge KM ความสำเร็จแผนการพัฒนาบุคลากร -การพัฒนาตนเอง -การจัดการความรู้ ระบบการรวบรวมและจัดการองค์ความรู้ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบการสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ สร้างบรรยากาศองค์กรเรียนรู้

  12. (1) Learning Organization(LO) คนในองค์กรเรียน.รู้ วิธีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (2) องค์กรเพิ่มศักยภาพสร้างผลงานอย่างต่อเนื่อง (5) เมื่อคนมีการเรียนรู้จากการพัฒนางานของตนอย่างต่อเนื่อง องค์กรก็สามารถมี นวตกรรมทั้งผลผลิต กระบวนงานและงานบริการ(Innovative Organization) (4) ผลของ KM ทำให้คนขององค์กรใช้ข้อมูล ความรู้ ปัญญา สร้างผลผลิตองค์กรได้โดดเด่นองค์นี้นเป็นKnowledge Organization (3) การบริหารจัดการความรู้ (KM)อย่างเป็นระบบ

  13. A A A P P P C C C D D D การบริหารคุณภาพ TQM • ความมีวินัยในการหมุนวัฏจักรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ให้ครบอย่างต่อเนื่อง High Quality S S มาตรฐานการปฏิบัติงาน Low Quality

  14. วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรควิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี ๒๕๖๓ ”

  15. IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ A. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ - ทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ - รายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน / ภายนอกองค์กร - องค์ความรู้ 3 องค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ อย่างน้อย 2 ประเด็นยุทธศาสตร์พร้อมระบุเหตุผลหรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ - การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ

  16. เกณฑ์การวัดผลสำเร็จ • ตัวชี้วัด (KPI) ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ • จัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) มีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่าง ๆ อย่างชัดเจนและเป็นลำดับขั้นตอน ในทั้ง 3 แผน • มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการร่วมกัน • มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP : Change Management Processองค์ประกอบที่ 6 ) แสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์ม 2) • มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ • มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ ภายใน 31 มี.ค. 54

  17. รายละเอียดการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 1. ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) พร้อมรายละเอียดหน้าที่และความรับผิดชอบ 2. จัดทำขอบเขต KM (KM Focus Area) 3. กำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) 4. การประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้ด้วย KMAT (The Knowledge Management Assessment Tool : KMAT)และสรุปผลการประเมินตนเอง 5. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 7. งบประมาณการดำเนินงานการจัดการความรู้

  18. แบบฟอร์ม ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) พร้อมรายละเอียดหน้าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้การจัดทำระบบการจัดการความรู้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผลหน่วยงาน……………จึงได้ประกาศแต่งตั้ง ทีมงาน KM และ CKO ดังต่อไปนี้ 1. นาย ............. เป็น CKO ซึ่งมีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1.1 …………………….. 1.2 ……………………. ………………………… 2. นาย……………..เป็นหัวหน้า KM Team 3. นาง……………..เป็น KM Team 4. นางสาว…………เป็น KM Team 5. ………………………………….. 6. ………………………………….. ………………………………………. โดยหัวหน้า KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ ………………………………………………………………… และ KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ ……………………………………………………

  19. วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด / ค่าป้าหมาย กลยุทธ์ กระบวนงาน/โครงการ การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ ความรู้ที่สำคัญต่อองค์กร • ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ • ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม • ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ ปัญหา KM Focus Areas(ขอบเขต KM) Desired State of KM Focus Areas(เป้าหมาย KM) แผนการจัดการความรู้KM Action Plans +( 6-step model)

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติรวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนาเป็นศูนย์กลาง นโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิงและมาตรฐานวิชาการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของชาติที่ได้มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและได้ผล เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล

  21. การกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (DesiredState) สนับสนุน 6 ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ของกรมควบคุมโรค ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติรวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : เป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพที่ได้มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับ

  23. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและได้ผล เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  24. ยุทธศาสตร์ที่ 4 : เตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสาธารณสุขฉุกเฉิน

  25. ยุทธศาสตร์ที่ 5การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล

  26. ยุทธศาสตร์ที่ 6 : พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์การและบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล

  27. แบบประเมินองค์กรตนเองเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (KMAT) แบบประเมิน ประกอบด้วย 5 หมวด ดังนี้ หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ หมวด 2 ภาวะผู้นำ หมวด 3 วัฒนธรรมในเรื่องการจัดการความรู้ หมวด 4 เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ หมวด 5 การวัดผลการจัดการความรู้

  28. แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้ เกณฑ์การให้คะแนน 0 – ไม่มีเลย/น้อยมาก 1 – มีน้อย 2 – มีระดับปานกลาง 3 – มีในระดับที่ดี 4 - มีในระดับที่ดีมาก

  29. เกณฑ์การให้คะแนนมีดังนี้เกณฑ์การให้คะแนนมีดังนี้ กรมมีการจัดการความรู้ในข้อนั้น ๆ ระดับ 0หมายถึงน้อยมาก หรือไม่มีเลย 1 หมายถึง ระดับน้อย 2หมายถึงระดับปานกลาง 3หมายถึงระดับดี 4หมายถึงระดับดีมาก

  30. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)7 ขั้นตอน 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหา ให้ตรงกับความต้องการ

  31. จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) • แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำ ระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะทำให้เข้าใจง่าย และสมบูรณ์ อย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) • จัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร • เรียบเรียงปรับปรุ

  32. 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) • ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ใน เวลาที่ต้องการ เรานำความรู้มา ใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) • การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) •ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) •การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ ให้กันหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning) •นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ • แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่

  33. กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) 1 การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 การสื่อสาร 3 กระบวนการและเครื่องมือ 4 การเรียนรู้ 5 การวัดผล 6 การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล

  34. แบบรายงานกิจกรรมกระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน

  35. แบบรายงานกิจกรรมกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงการจัดการความรู้ 6 ขั้นตอน

  36. แบบรายงาน สรุปงบประมาณการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้

  37. สวัสดี

More Related