1 / 54

พล.ต.ต. กิตติสัณห์ เดชสุนทร วัฒน์ รอง ผบช.ภ.๘ รับผิดชอบ รอง ผบช.ภ. ๘ ( ปส )

บรรยายสรุป. โดย. พล.ต.ต. กิตติสัณห์ เดชสุนทร วัฒน์ รอง ผบช.ภ.๘ รับผิดชอบ รอง ผบช.ภ. ๘ ( ปส ). ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ ยาเสพติด. ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด (ศพส.ภ.๘).

tyme
Télécharger la présentation

พล.ต.ต. กิตติสัณห์ เดชสุนทร วัฒน์ รอง ผบช.ภ.๘ รับผิดชอบ รอง ผบช.ภ. ๘ ( ปส )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บรรยายสรุป โดย พล.ต.ต.กิตติสัณห์ เดชสุนทรวัฒน์ รอง ผบช.ภ.๘ รับผิดชอบ รอง ผบช.ภ.๘ (ปส)

  2. ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด (ศพส.ภ.๘)

  3. แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๖ กำหนดนโยบายการปฏิบัติ ดังนี้

  4. แนวคิดในการปฏิบัติ แนวคิดในการปฏิบัติ ๑.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเข้มข้น ๒. พัฒนาระบบการข่าวทุกระดับ ๓. สกัดกั้นการลำเลียงยาเสพติดในพื้นที่ตอนใน ๔. ปราบปรามจับกุมผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้ลำเลียงยาเสพติดในทุกระดับ โดยเน้นผู้ค้ารายย่อยในชุมชน เครือข่ายการค้ายาเสพติดในเรือนจำ ขยายผลการจับกุมทุกราย รวมทั้งดำเนินมาตรการริบทรัพย์ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดตามกฎหมาย ตลอดจนเร่งรัดการสืบสวน ติดตามจับกุมผู้ต้องหาตามหมายจับในคดียาเสพติด๕.แลกเปลี่ยนข่าวสารและประสานความร่วมมือกับนานาประเทศในการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 6. ดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งทางด้าน ปกครอง ด้านการบริหาร และดำเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีพฤติการณ์ด้านยาเสพติดอย่างจริงจังรวมทั้งดำเนินการทางอาญาและวินัยกับข้าราชการตำรวจที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่าง เด็ดขาด 7. ให้ความสำคัญในการป้องกันกลุ่มเสี่ยงและพื้นที่เสี่ยง โดยการพัฒนาครูตำรวจ D.A.R.E. และนำโครงการตำรวจประสานโรงเรียน เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน

  5. เป้าหมายการดำเนินการ : กำหนดเป้าหมายให้ ภ.๘ ดำเนินการ ดังนี้ ๑. การจับกุมคดียาเสพติดข้อหาสำคัญและการขยายผล จำนวน ๓,๙๕๗ คดี ๒. ยึดทรัพย์สินมูลค่า ๑๖๕ ล้านบาท ๓. หมายจับค้างเก่า จำนวน ๑๓๐ หมาย

  6. แนวทางการดำเนินงาน 1. ปราบปรามทำลายโครงสร้างการค้ายาเสพติดทุกระดับ ได้แก่ ผู้เสพ/ผู้ติดและนักค้ายาเสพติดรายย่อย, เครือข่ายการค้ายาเสพติดรายย่อย, เครือข่ายการค้ายาเสพติดรายใหญ่และตรวจสอบทรัพย์สิน และหมายจับคดียาเสพติดค้างเก่า 2. ปราบปรามแหล่งพักยาและแหล่งแพร่ระบาด โดยปิดล้อมตรวจค้นหมู่บ้าน/ชุมชนเป้าหมาย อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3. พัฒนาระบบงานการข่าว โดยจัดตั้งทีมวิเคราะห์ข่าว และศูนย์สั่งการ (War Room) ระดับสถานีตำรวจ ,บก. และ ภ.จว. รวมทั้งพัฒนา ช่องทางในการแจ้งข่าวสาร ข้อร้องเรียน หรือเบาะแสผ่านทุกช่องทาง โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยี 4. การสอบสวนคดียาเสพติด ให้ปฏิบัติตามแนวทางการสอบสวนขยายผลคดียาเสพติดอย่างเคร่งครัด 5. สกัดกั้นยาเสพติดในพื้นที่ตอนใน โดยบูรณาการแผนการตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด ด่านตรวจในลักษณะเครือข่ายใยแมงมุมและเหลื่อมเวลา ครอบคลุมทุกเส้นทางหลัก รองและล่อแหลม รวมถึงสนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพจุดตรวจ/จุดสกัด ด่านตรวจ 6. ดำเนินโครงการครูตำรวจ D.A.R.E. โดยทำการผลิตครูตำรวจ D.A.R.E. จำนวน 249 คน ให้แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 1 แล้วเข้าให้ความรู้ในโรงเรียนให้ครอบคลุมเป้าหมายที่กำหนด 7. ดำเนินโครงการตำรวจประสานโรงเรียน โดยกำหนดให้หน่วยปฏิบัติจัดนายตำรวจทำหน้าที่ให้คำปรึกษา ประสาน และช่วยเหลือสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  7. แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ตำรวจภูธรภาค ๘ พ.ศ.๒๕๕๖ “ตาปี ๕๐/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๕” ออกรองรับแผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๖

  8. คำสั่งปฏิบัติการปิดล้อมตรวจค้นพื้นที่การแพร่ระบาดของ ยาเสพติด ตำรวจภูธรภาค ๘ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ กำหนดให้หน่วยปฏิบัติในพื้นที่รับผิดชอบปฏิบัติการกดดันปิดล้อมตรวจค้นพื้นที่/อำเภอแพร่ระยาเสพติดรุนแรงที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วนอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง

  9. พื้นที่แพร่ระบาดยาเสพติดรุนแรงที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วนพื้นที่แพร่ระบาดยาเสพติดรุนแรงที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน

  10. สถานการณ์ยาเสพติด

  11. ๑.การผลิตและการลักลอบปลูกพืชเสพติด๑.การผลิตและการลักลอบปลูกพืชเสพติด พื้นที่ปลูกพืชกระท่อมที่สำคัญ จว.สุราษฎร์ธานี ได้แก่ อ.พระแสง,ไชยา,ท่าฉาง,คีรีรัฐนิคม, ท่าชนะ, เคียนซาและกาญจนดิษฐ์ จว.นครศรีธรรมราช ได้แก่ อ.เมือง,หัวไทร,เชียรใหญ่,ท่าศาลา, ขนอม, ปากพนัง,สิชล,บางขัน,ทุ่งสง และ ร่อนพิบูลย์ จว.ชุมพร ได้แก่ อ.เมือง,สวี,หลังสวน และทุ่งตะโก จว.ระนอง ปลูกกระจายทั่วไป ปริมาณไม่มาก จว.พังงา ได้แก่ อ.คุระบุรี และกะปง จว.ภูเก็ต ส่วนมากนำเข้าจาก จว.ชุมพรในกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จว.กระบี่ ได้แก่ อ.ปลายพระยา,อ่าวลึก และคลองท่อม

  12. กัญชาสด ส่วนมากปลูกไว้เพื่อเสพเอง และแบ่งขายในกลุ่มคนรู้จัก ลักษณะการปลูกเป็นการปลูกแซมในส่วนปาล์ม สวนยางพารา สวนผลไม้ บริเวณเชิงเขา บริเวณใกล้แหล่งน้ำ พื้นที่ปลูกที่สำคัญ จว.สุราษฎร์ธานี ได้แก่ อ.พระแสง,พนม,วิภาวดี,คีรีรัฐนิคม จว.นครศรีธรรมราช ได้แก่ อ.ทุ่งใหญ่ จว.ชุมพร ได้แก่ อ.หลังสวน,พะโต๊ะและทุ่งตะโก จว.ระนอง ปลูกกระจายทั่วไป ปริมาณไม่มาก จว.พังงา ได้แก่ อ.คุระบุรี และกะปง จว.ภูเก็ต ได้แก่ ต.กะรน อ.เมือง จว.กระบี่ ได้แก่ อ.ปลายพระยา และเขาพนม

  13. ๒. สถานการณ์การค้า ๒.๑ พื้นที่หลักที่มีปัญหาการค้า จว.สุราษฎร์ธานี ได้แก่ อ.เมือง, กาญจนดิษฐ์ และเวียงสระ จว.นครศรีธรรมราชได้แก่ อ.เมือง,ทุ่งสงท่าศาลา และทุ่งใหญ่ จว.ชุมพร ได้แก่ อ.เมือง,หลังสวน และท่าแซะ จว.ระนอง ได้แก่ อ.เมือง จว.ภูเก็ต ได้แก่ อ.เมือง และกะทู้ จว.กระบี่ ได้แก่ อ.เมือง ๒.๒ ตัวยา ชนิดยาเสพติดหลักที่มีการค้าได้แก่ ยาบ้า และไอซ์ • ๒.๓ การซุกซ่อน • รายย่อย ซุกซ่อนในร่างกาย, กระเป๋ากางเกง ,เสื้อผ้า กระเป๋าถือ ช่องว่างหลังโทรศัพท์ • รายใหญ่ ดัดแปลงยานพาหนะเป็นช่องลับ ,กระเป๋าเดินทางใบใหญ่ ทางพัสดุไปรษณีย์

  14. เส้นทางการขนส่งและลำเลียงเส้นทางการขนส่งและลำเลียง ยาเสพติดที่มีการลำเลียงไปภาคใต้ตอนล่าง 1.กัญชาแห้ง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) 2.กระท่อม (จ.ชุมพร/สุราษฎร์ธานี/นครศรีธรรมราช) ทางบก ๑.ถนนเพชรเกษม ทางหลวงหมายเลข ๔ เลียบชายฝั่งอันดามัน (จ.ระนอง-จ.กระบี่) ๒.เส้นทางหลวงหมายเลข ๔๑(จว.ชุมพร.สุราษฎร์ธานี) 3.เส้นทางรองหมายเลข ๔๔ ผ่านถนนหมายเลข ๔๑๕ (จว.กระบี่ ผ่าน จว.พังงา) ทางน้ำ ไม่มีการจับกุมคดีสำคัญ แต่พบว่าพื้นที่ อ.เกาะสมุย ต.เกาะเต่า อ.เกาะพะงัน จว.สุราษฎร์ธานี มีข่าวการลักลอบนำยาเสพติดเข้ามาทางเรือสปีดโบ๊ท เพื่อจำหน่ายแก่นักท่องเที่ยว ทางอากาศยาน ส่วนมากเป็นชาวต่างชาติ ทั้งท่าอากาศ ยานนานาชาติเกาะสมุย และท่าอากาศยานนานาชาติ ภูเก็ต 41 4 41 4 43 ยาเสพติดที่มีการลำเลียงขึ้นจากภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ ยาบ้าและไอซ์

  15. ราคายาเสพติด • กำละ (๕๐-๗๐ใบ) ๕๐-๗๐ บาท กิโลกรัมละ ๘๐๐-๑,๐๐๐ บาท พืชกระท่อม

  16. แผนพัฒนาบุคลากรและระบบ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖

  17. การพัฒนาบุคลากร

  18. ๑. โครงการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการสืบสวนขยายผลและ ตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน ๔๖๓ นาย ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๖ ม.ค.๕๖ ณ รร.ไดมอนด์พลาซ่า จว.สฎ. ผู้เข้าร่วมอบรมฯ ประกอบด้วย รอง ผบก.,หน.สภ.,รอง ผกก.สส.,พงส.,ชุดสืบสวนขยายผล,หน.ชป.,หน.ด่านตรวจชุมพร และ หน.นปส.

  19. ๒. โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพชุดขยายผลและตรวจสอบทรัพย์สินในคดียาเสพติด (รร.ทวิน โลตัส) ข้าราชการตำรวจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานชุดขยายผลและตรวจสอบทรัพย์สิน ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๓๐ ม.ค. ๕๖ โดย สำนักงาน ป.ป.ส.และ บช.ปส.

  20. ๓. โครงการ ติดตามเร่งรัด สนับสนุน การปฏิบัติงานด้านสืบสวนสอบสวนขยายผลเครือข่ายยาเสพติดในเชิงปฏิบัติการ (Work shop) เป้าหมาย: ประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work shop) แบบสัญจร จำนวนทั้งสิ้น ๓๘๗ นาย ๑.ชุดขยายผลระดับ ภ.จว.ๆ ละ ๕ นาย รวม ๓๕ นาย ๒.ชุดปฏิบัติการ สภ. หน่วยละ ๒ นาย รวม ๒๓๒ นาย ๓.ชุดปฏิบัติการของ สภ.เจ้าของพื้นที่ (คดีหลัก) หน่วยละ ๓ นาย รวม ๘๔ นาย ๔.ชุดขยายผล บก.สส.ภ.๘ จำนวน ๗ นาย ๕.เจ้าหน้าที่ ศพส.ภ.๘ จำนวน ๕ นาย ๖.เจ้าหน้าที่ ศพส.ภ.จว. หน่วยละ ๕ นาย รวม ๓๕ นาย ๗. เจ้าหน้าที่ ปปส.ภาค ๘ จำนวน ๕ นาย ๘. วิทยากร จำนวน ๕ นาย

  21. การดำเนินการ : กำหนดคดีรายสำคัญ หรือน่าสนใจครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ ๓๑ ดคี ๑.ภ.จว.ๆ ละ ๔ คดี/ช่วงระยะเวลา (๔ เดือน) รวม ๒๘ คดี/ช่วงระยะเวลา ๒.บก.สส.ภ.๘ จำนวน ๓ คดี ๓.มีผลการปฏิบัติวัดได้ในรอบ ๙ เดือน แบ่งการปฏิบัติเป็น ๓ ระยะ ดังนี้ ๓.๑ วันที่ ๑ ต.ค.๕๕ ถึง ๓๑ ม.ค.๕๖ ๓.๒ วันที่ ๑ ก.พ.๕๖ ถึง ๓๑ พ.ค.๕๖ ๓.๓ วันที่ ๑ มิ.ย.๕๖ ถึง ๓๐ ก.ย.๕๖ ๔. แนวทางการประชุมออกสัญจรไป ภ.จว. รวม ๗ แห่งๆ ละ ๑ วัน ๕. วิธีการตรวจสอบเพื่อสรุปประมวลข้อเท็จจริง โดยมีประเด็นสำคัญ ดังนี้ ๕.๑ คดีดังกล่าวมีข้อเท็จจริงเป็นมาอย่างไร ๕.๒ ตรวจสอบว่า ๕.๒.๑ คดีได้ดำเนินการไปอย่างไรบ้าง ๕.๒.๒ ความคืบหน้าเป็นอย่างไร ๕.๒.๓ มีข้อจำกัด ขาดแนวทาง ปัญหาอุปสรรค

  22. ขั้นตอนการรับเงินค่าตอบแทน ๑. ภ.จว.เขียนโครงการฯ รองรับเครือข่ายละ ๑ โครงการ เสนอ ผอ.ป.ป.ส.ภาค ๘ อนุมัติ ๒. ครั้งแรกจ่ายคดีละ ๕,๐๐๐ บาทต่อเครือข่าย ๓. เสนอขออนุมัติต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. และเลขาฯ ป.ป.ส.อนุมัติ เสนอขอหมายจับต่อศาลเข้าปิดล้อมตรวจค้นจับกุมจ่ายส่วนที่เหลือ ๑๕,๐๐๐ บาท ๔. เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ๑ พ.ค.-ก.ย.๕๖ ๕. งบประมาณ ๑,๐๑๖,๙๐๐ บาท จาก ป.ป.ส.ภาค ๘

  23. การพัฒนาระบบ

  24. ๑. ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด (ศพส.ภ.๘) ๒. ศูนย์ข้อมูลเฝ้าฟัง/บริหารสถานการณ์ยาเสพติด (บก.สส.ภ.๘)

  25. ๓.ด่านตรวจจุดตรวจหลักและจุดติดตั้งกล้องอ่านแผ่นป้ายทะเบียน จุดตรวจหลัก ๓ จุด ๑. ด่านบ้านพละ อ.ปะทิว จว.ชุมพร

  26. ๒. ด่านถ้ำพรรณรา จว.นครศรีธรรมราช

  27. ๓. ด่านท่าฉัตรไชย จว.ภูเก็ต

  28. จุดติดตั้งกล้องอ่านแผ่นป้ายทะเบียน ๗ จุด ๑. จุดตรวจปฐมพร จว.ชพ. ๒. จุดตรวจหลังสวน จว.ชพ. ๓. จุดตรวจปากจั่น จว.รน. ๔. จุดตรวจบ้านนาเดิม จว.สฎ. ๕. จุดตรวจปากแพรก จว.สฎ. ๖. จดตรวจวังหม้อแกง จว.พง. ๗. จุดตรวจเขาหลัก จว.พง. จุดตรวจปฐมพร (๔ กล้อง) จุดตรวจปากจั่น (๒ กล้อง ) จุดตรวจหลังสวน (๒ กล้อง ) จุดตรวจปากแพรก (๒ กล้อง) จุดตรวจเขาหลัก (๒ กล้อง) จุดตรวจบ้านนาเดิม (๒ กล้อง ) จุดตรวจวังหม้อแกง (๒ กล้อง)

  29. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล ๑ ประชุม ศพส.ภ.๘ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกเดือน การประชุมร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามแผนปฏิบัติการ พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ตำรวจภูธรภาค ๘

  30. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล ๒. ประชุมงานปราบปราม รอบสัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา ๑๓.๓๐ น.ด้วยระบบทางไกลผ่านจอภาพ

  31. มาตรการในการปราบปราม

  32. สถิติผลการจับกุมยาเสพติด ของ ภ.๘ ห้วงระหว่าง ต.ค.๕๕ – มี.ค.๕๖ จำหน่าย ๒๕๓ ราย ผู้ต้องหา ๒๙๙ คน ย ครอบครองเพื่อจำหน่าย ๒,๔๒๓ ราย ผู้ต้องหา ๓,๑๕๘ คน ผลิต ๗๓๖ ราย ผู้ต้องหา ๑,๔๕๖ คน จับกุมได้ ๑๑,๐๕๐ ราย ผู้ต้องหา ๑๔,๑๖๘ คน ครอบครอง ๖,๘๖๕ ราย ผู้ต้องหา ๘,๓๔๘ คน เสพ ๗๗๐ ราย ผู้ต้องหา ๙๐๓ คน ของกลางที่สำคัญ ยาบ้า ๖๘๐,๙๖๓ เม็ด ไอซ์ ๑๕ กก.,กัญชา ๑,๘๐๓ กก. พืชกระท่อม ๙,๘๕๒ กก. นำเข้า ๑ ราย ผู้ต้องหา ๑ คน

  33. เป้าหมายและตัวชี้วัดตามแผนการปราบปรามยาเสพติด ห้วงเดือน ต.ค.๒๕๕๕ – มี.ค.๒๕๕๖

  34. การขยายผลหลังการจับกุม ตำรวจภูธรภาค ๘ ห้วงเดือน ต.ค.๕๕ – มี.ค.๕๖

  35. ผลการจับกุมคดียาเสพติดข้อหาสำคัญและขยายผล (เป้าหมาย ๔๐,๐๐๐ ราย) ตำรวจภูธรภาค ๘ ห้วงเดือน ต.ค.๕๕-มี.ค.๕๖

  36. ผลการดำเนินการตามมาตรการตรวจสอบทรัพย์สิน ตำรวจภูธรภาค ๘ ห้วงเดือน ต.ค.๕๕-มี.ค.๕๖

  37. ผลการดำเนินการตามหมายจับคดียาเสพติด ตำรวจภูธรภาค ๘ ห้วงเดือน ต.ค.๕๕ – มี.ค.๕๖

  38. เป้าหมายตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖

  39. ตัวชี้วัด ๕.๑ การดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด

  40. ผลการดำเนินการตามเป้าหมายตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ ตำรวจภูธรภาค ๘

  41. การดำเนินการ Task Force ทำลายโครงสร้าง เครือข่าย/กลุ่มค้า จำนวน ๔ เครือข่าย เชื่อมโยงประเทศพม่า ,ภ.๑,๕,๘,๙ จำนวน ๔ กลุ่ม ๑. ตำรวจภูธรภาค 1 (เส้นทางลำเลียงผ่าน) ๒. ตำรวจภูธรภาค 5 (จังหวัดเชียงราย และพม่า) ๓. ตำรวจภูธรภาค 8 (จังหวัดนครศรีธรรมราช และใกล้เคียง) ๔. ตำรวจภูธรภาค 9 (จังหวัดพัทลุง และใกล้เคียง) 5. บช.ปส. (เส้นทางลำเลียงจากพม่า มุ่งสู่ภาคใต้) 6. ปปส.ภ.๕,ปปส.ภ.๘,ปปส.ภ.๙ 7. ปปง., ตชด. และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  42. เจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีพฤติการณ์เกี่ยวข้องยาเสพติด ห้วง ต.ค.๒๕๕๕ – มี.ค.๒๕๕๖ - ตำรวจ ๕ นาย - ทหาร ๑ นาย - กำนัน ๒ คน - ผู้ใหญ่บ้าน ๒ คน - ฝ่ายปกครอง ๑ คน รวม ๑๑ คน

  43. โครงการ ครู D.A.R.E.

  44. จำนวนครูตำรวจ D.A.R.E. ที่เข้าสอนนักเรียน ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๕๖

  45. จำนวนครูตำรวจ D.A.R.E. ที่เข้าสอนนักเรียน ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕

  46. การเบิกจ่ายงบประมาณ

  47. ๑. งบลงทุน : รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด ๑ ตัน ๓ คัน ทำ PO ในระบบแล้ว งบประมาณ ๒,๐๖๔,๐๐๐ บาท ๒. งบดำเนินงาน : ปิดล้อมตรวจค้น ,ชุดสืบสวน/ชุดขยายผล/ชุดประจำด่าน และรายจ่ายครู D.A.R.E.

More Related