1 / 33

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP. อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com ม. ราชภัฎพระนคร. เนื้อหา (Content). ประวัติของ PHP PHP คืออะไร ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม โครงสร้างของ PHP Language Reference ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP. ประวัติ PHP.

ugo
Télécharger la présentation

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHPIntroduction to PHP อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com ม. ราชภัฎพระนคร

  2. เนื้อหา (Content) • ประวัติของ PHP • PHP คืออะไร • ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • โครงสร้างของ PHP • Language Reference • ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP

  3. ประวัติ PHP • PHP ย่อมาจาก Professional Home Page • เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 • ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf • ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 - Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 - Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 - Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 - Version 4 Beta 2 ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) - ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 5 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง คือ PHP5

  4. รายชื่อของนักพัฒนาภาษา PHP • Zeev Suraski, Israel • Andi Gutmans, Israel • Shane Caraveo, Florida USA • Stig Bakken, Norway • Andrey Zmievski, Nebraska USA • Sascha Schumann, Dortmund, Germany • Thies C. Arntzen, Hamburg, Germany • Jim Winstead, Los Angeles, USA • Rasmus Lerdorf, North Carolina, USA

  5. PHP คืออะไร • เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP • การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML • สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT, Windows 9x • ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, mSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น

  6. ลักษณะเด่นของ PHP • ใช้ได้ฟรี • PHP เป็นโปรแกรมที่ทำงานฝั่ง Sever ดังนั้นขีดความสามารถไม่จำกัด • Cross-platform นั่นคือPHP ทำงานบนเครื่อง UNIX,Linux,Windows ได้หมด • เรียนรู้ง่าย เนืองจาก PHP ฝั่งเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ • เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้โปรแกรมจาก • ภายนอก • ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที • ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ • ใช้กับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ใช้กับโครงสร้างข้อมูลใช้ได้แบบ Scalar,Array,Associative array • ใช้กับการประมวลผลภาพได้

  7. สิ่งที่ PHP สามารถทำได้ • CGI • Database-enable web page • Database Adabas D InterBase Solid DBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL

  8. ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • Open source • No cost implementation –PHP เป็นของฟรี • Server side • Crossable Platform • HTML embedded • Simple language

  9. ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • Efficiency มีประสิทธิภาพ • XML parsing ใช้งานร่วมกับ XML ได้ • Server side เป็นการทำงานแบบ Server Side • Database module สามารถติดต่อกับฐานข้อมูลได้ • File I/O • Text processing • Image processing

  10. การทำงานของ PHP • ทำงานบน Web Server ได้หลายตัว เช่น • Apache • IIS • Tomcat • PWS • ทำงานร่วมกับเอกสาร html • สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร html • ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ • แสดงผลออกทาง Web Browsers

  11. การทำงานของ PHP

  12. เริ่มต้นการทำงานกับ PHP เตรียมความพร้อมก่อนใช้งาน PHP • ติดตั้งโปรแกรม Appserv • Apache • Mysql • PHPMyadmin • ทดสอบการทำงานของ Apache WebServer

  13. โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  14. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 2 SGML style <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  15. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง <script language=“php”> echo “Hello ! World”; </script>

  16. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>

  17. โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ) • จากตัวอย่าง แบบที่เป็นที่นิยมมากที่สุดก็คือ แบบที่ 1 • ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello ! World ! I am PHP • ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง • File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php หรือ php3 เท่านั้น

  18. การทดสอบการทำงานของ PHP การทดสอบการทำงานของ PHP สามารถทำได้โดยการ เปิดโปรแกรม Browser ขึ้นมาแล้วก็พิมพ์ URL ตาม ต.ย. ข้างล่างนี้ • http://localhost/test.php <?php echo "<h1>Welcome to PHP World </h1><br>"; echo "GIGO : Gabag In Gabag Out"; ?>

  19. โดยปกติการตั้งชื่อเว็บหน้าแรก มักจะตั้งชื่อตาม ต.ย. ข้างล่างนี้ Index.html Index.php Index.asp Index.jsp http://localhost Root Directory WWW

  20. Language Reference • Comments - เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix • ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัด ตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?>

  21. คำสั่ง echo • เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser • รูปแบบของคำสั่ง echo ข้อความ1 หรือตัวแปร1, ข้อความ2 หรือตัวแปร2, ข้อความ3 หรือตัวแปร3, … • ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (““) หรือ single quote (‘‘) • ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl

  22. ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง echo <?php echo "<center><h1>Welcome to PHP World </h1> </center><br>"; echo "<center>GIGO : Gabag In Gabag Out</center>"; echo "<center>"; echo "Today’s Date:"; echo Date('l F d, Y') ; echo "</center>"; ?>

  23. ตัวอย่างที่ 1 intro-1.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> <BODY> <? echo "Hi, I'm a PHP script!"; ?> <BODY> </HTML> Hi, I'm a PHP script!

  24. ตัวอย่างที่ 2 intro-2.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday April 06, 2000

  25. ตัวอย่างที่ 3 intro-3.php3 <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –3</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? /* ** print today’s date */ print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday April 06, 2000

  26. ตัวอย่างที่ 4 <?php $YourName = "Seree"; $Today = date("l F d, Y"); $CostOfLunch = 3.50; $DaysBuyingLunch = 4; ?> <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –4</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <?php /* ** print today’s date */ print("<H3>$Today</H3>\n"); ยังไม่หมด มีต่อหน้าถัดไป

  27. ตัวอย่างที่ 4 (ต่อ) /* ** print message about lunch cost */ print("$YourName, you will be out "); print($CostOfLunch * $DaysBuyingLunch); print(" dollars this week.<BR>\n"); ?> </BODY> </HTML>

  28. ตัวอย่างที่ 5 intro-5.php3 <?php echo '<pre>First Paragraph: Corporal Carrot, Ankh-Morpork City Guard (Night Watch), sat down in his nightshirt, took up his pencil, sucked the end for a moment, and then wrote:</pre>'; ?>

  29. ตัวอย่างที่ 6 intro-6.php3 <?php echo '<pre>'; echo `ls *.php3`; echo '</pre>'; ?>

  30. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.php.net

  31. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.appserv-network.net

  32. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://www.mysql.com

  33. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP http://tomcat.apache.org

More Related