1 / 20

รายงานการ ประเมินผล

รายงานการ ประเมินผล. โครงการจัด รูปที่ดินในพื้นที่นำ ร่อง. โครงการ เขื่อนแควน้อย บำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก. เอกสารประกอบการบรรยาย การนำเสนอผลงานวิชาการด้านเศรษฐกิจการเกษตร ประจำปี 2557 โดย ส่วนประเมินผลปัจจัยพื้นฐานทางการเกษตร ศูนย์ประเมินผล. หัวข้อการนำเสนอ. 1. ความสำคัญของการศึกษา. 2.

umika
Télécharger la présentation

รายงานการ ประเมินผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานการประเมินผล โครงการจัดรูปที่ดินในพื้นที่นำร่อง โครงการเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก เอกสารประกอบการบรรยาย การนำเสนอผลงานวิชาการด้านเศรษฐกิจการเกษตร ประจำปี 2557 โดย ส่วนประเมินผลปัจจัยพื้นฐานทางการเกษตร ศูนย์ประเมินผล

  2. หัวข้อการนำเสนอ 1. ความสำคัญของการศึกษา 2. วิธีการประเมินผล ผลการประเมินผล 3. 4. ข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ

  3. 1. ความสำคัญของการศึกษา (1) พื้นที่ชลประทานโครงการเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 155,166 ไร่ (2) วัตถุประสงค์การจัดรูปที่ดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการก่อสร้าง คูส่งน้ำ คูระบายน้ำ สร้างทางลำเลียง ออกเอกสารสิทธิ์ฉบับใหม่ให้แก่ เกษตรกร และยกระดับรายได้สุทธิทางการเกษตรให้สูงขึ้น (3) ปี 2553 ดำเนินการจัดรูปที่ดินนำร่องในพื้นที่ จำนวน 1,530 ไร่ เป็นการจัดรูปที่ดินประเภทการพัฒนาแบบสมบูรณ์แบบ (Intensive Development)

  4. 2. วิธีการประเมินผล 2.1 วัตถุประสงค์ของการประเมินผล (1) ประเมินผลการดำเนินงาน ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์โครงการ (2)วิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต (3)วิเคราะห์แนวทางการคิดเงินคืนทุน 2.2 ขอบเขตของการประเมินผล (1) พื้นที่นำร่องโครงการปี 2553 (2) เปรียบเทียบก่อนและหลังมีการจัดรูปที่ดิน

  5. 2. วิธีการประเมินผล (ต่อ) 2.3 รูปแบบการประเมินผล แบบจำลองการประเมินผล IOEI INPUTS ปัจจัย OUTPUTS ผลได้ IMPACT ผลกระทบต่อเนื่อง EFFECT ผลกระทบ

  6. 2. วิธีการประเมินผล (ต่อ) 2.3 รูปแบบการประเมินผล(2) ฟังก์ชั่นการผลิตแบบคอบบ์-ดักลาส Y = AX1b1 X2b2 … Xnbneu lnY1 = lna + b1lnX1b1 + b2lnX2b2 + b3lnX3b3 + b4lnX4b4 +u (1) lnY2 = lna + b1lnX1b1 + b2lnX2b2 + b3lnX3b3 + b4lnX4b4 +u (2) จากสมการ (1) และ (2) Y1,Y2 = ผลผลิต (กก./ไร่) X1 = ปริมาณเมล็ดพันธุ์ (กก./ไร่) X2= ค่าใช้จ่ายเงินสดปุ๋ยเคมี (บาท/ไร่) X3= ค่าใช้จ่ายเงินสดสารเคมี (บาท/ไร่) X4 = แรงงานคน (วันงาน/ไร่) b1,b2,b3,b4 = ค่าสัมประสิทธิ์ของปัจจัยการผลิต X1, X2 , X3 , X4 u = ค่าความคลาดเคลื่อน

  7. 2. วิธีการประเมินผล (ต่อ) 2.4 การรวบรวมข้อมูล (1) ข้อมูลปฐมภูมิ จากการสำรวจเกษตรกร 125 ตัวอย่าง (2) ข้อมูลทุติยภูมิ จากการเอกสาร รายงานวิจัยที่เกี่ยงข้อง 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล (1) การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณา เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ (2) การวิเคราะห์ความคิดเห็น (3) การทดสอบความแตกต่าง เช่น การทดสอบค่าเฉลี่ยของผลผลิตข้าว (4) การวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต (5) การวิเคราะห์การคิดคืนทุน

  8. 3. ผลการประเมินผล 3.1 ผลการประเมินผลตามแบบจำลอง IOEI ปัจจัย (INPUTS) ผลได้ (OUTPUTS) (1) ค่าใช้จ่ายการจัดรูปที่ดิน 19.49 ล้านบาท (2) หลักสูตรการอบรม 3 หลักสูตร (1) พื้นที่จัดรูปที่ดิน 1,513.17 ไร่ (99%) จำนวน 448 แปลง (2) ถนนลำเลียงระยะ 13.265 กม. (3) กลุ่มผู้ใช้น้ำ จำนวน 10 กลุ่ม (4) การออกเอกสารสิทธิ์ 

  9. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) ผลกระทบ(EFFECT) (1) ด้านการชลประทาน (2) ประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน ร้อยละ

  10. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) ผลกระทบ(EFFECT) (3) ประสิทธิภาพการผลิต 112.30 กก. 120.46 กก.

  11. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) ผลกระทบต่อเนื่อง (IMPACT) รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรในพื้นที่โครงการ + 985.77

  12. ทัศนคติของเกษตรกรต่อโครงการจัดรูปที่ดินทัศนคติของเกษตรกรต่อโครงการจัดรูปที่ดิน ภาพรวม 3.86 ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดรูปที่ดิน 4.18 ด้านความเข้าใจต่อระเบียบ ขั้นตอนการปฏิบัติ 3.62 ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ 3.80

  13. สรุปผลการประเมินตามแบบจำลอง IOEI INPUTS OUTPUTS EFFECT IMPACT 1. พื้นที่ 1,513.17 ไร่ 2. จำนวน 448 แปลง 3. เกษตรกร 261 ราย 4. ถนนลำเลียง 13.26 กม. 5. กลุ่มผู้ใช้น้ำ 10 กลุ่ม 1. ประสิทธิภาพการรับน้ำเพิ่มขึ้น ร้อยละ 67.91 และการระบายน้ำ เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.20 2. ประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.25 3. ประสิทธิภาพการผลิต ผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปีเพิ่มขึ้น 120.46 กก. ข้าวนาปรังเพิ่มขึ้น 112.30 กก. 4. ความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำ อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ค่าคะแนนเท่ากับ 3.32) 1. งบประมาณ 19.49 ล้านบาท 2. ถ่ายทอดความรู้ 3 หลักสูตร 1.รายได้เงินสดสุทธิใน พื้นที่โครงการ เพิ่มขึ้น 985.77 บาทต่อไร่ 2. ปัญหาการขัดแย้งแย่งชิงน้ำ ลดลงเหลือร้อยละ 8.54

  14. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) 3.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต 1) การวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต สมการ การผลิตข้าวนาปี lnY1 = 5.687 + 0.077lnX1 + 0.053lnX2 + 0.032lnX3 + 0.432lnX4 t –value (1.761)* (2.707)** (2.320)** (16.827)** F-value = 141.27*** , R2 = 0.8408, S.E.= 0.33, D.W. =1.73 สมการ การผลิตข้าวนาปรัง lnY2 = 2.580 + 0.251lnX1 + 0.381lnX2 + 0.099lnX3 + 0.492lnX4 t –value (1.679)*(5.483)***(2.947)** (16.827)*** F-value = 92.103*** , R2 = 0.7831 , S.E. = 0.058 , D.W. = 2.13

  15. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) 3.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต (2) 2) ประสิทธิภาพทางเทคนิค

  16. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) 3.2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต (3) 3) ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ

  17. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) 3.3 แนวทางการคิดอัตราคืนทุน 1) อัตราร้อยละการจ่ายอุดหนุนกับการจ่ายสมทบของเกษตรกร

  18. 3. ผลการประเมินผล(ต่อ) 3.3 แนวทางการคิดอัตราคืนทุน (2) 2) กรณีการอุดหนุนและจำนวนที่เกษตรกรเลือกทางเลือกการจ่าย

  19. 4. ข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ (1) หน่วยงานควรมีการบูรณาการอย่างจริงจัง โดยการส่งเสริมให้ความรู้และติดตาม ให้คำแนะนำแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง (2) ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรรับรู้ ข้อมูลข่าวสารประโยชน์ที่ได้รับจากการ จัดรูปที่ดินอย่างต่อเนื่อง (3)พิจารณาพื้นที่ที่ศึกษาความเหมาะสมแล้ว และพื้นที่ยังไม่ได้ศึกษา ดำเนินการพัฒนาตามศักยภาพการทำงานของหน่วยงานรับผิดชอบ วางแผนการพัฒนาต่อไป (4) ควรมีการศึกษาพื้นที่จัดรูปที่ดินที่อื่น และวิธีการจัดรูปที่ดินแบบพัฒนาบางส่วน เปรียบเทียบเพื่อมีวิธีคิดการคืนทุนที่เหมาะสม อันจะเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐและเกษตรกร

  20. จบการนำเสนอ

More Related