1 / 52

การบริหารการเงินและสินทรัพย์

การบริหารการเงินและสินทรัพย์. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษจิตต์อารีย์ กนกนิรันดร. การบริหารการเงิน. การบริหารภาครัฐ การจัดการระบบการเงินขององค์กรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารเงินงบประมาณให้เกิดสัมฤทธิผลสูงสุด การบริหารภาคเอกชน การทำให้เจ้าของกิจการมีความมั่งคั่งมากที่สุด. การบริหารการเงิน.

Télécharger la présentation

การบริหารการเงินและสินทรัพย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการเงินและสินทรัพย์การบริหารการเงินและสินทรัพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษจิตต์อารีย์ กนกนิรันดร

  2. การบริหารการเงิน การบริหารภาครัฐ • การจัดการระบบการเงินขององค์กรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด • การบริหารเงินงบประมาณให้เกิดสัมฤทธิผลสูงสุด การบริหารภาคเอกชน • การทำให้เจ้าของกิจการมีความมั่งคั่งมากที่สุด

  3. การบริหารการเงิน • การตัดสินใจหาแหล่งของเงินทุน (Financing decisions) • การตัดสินใจจัดสรรเงินทุน (Allocation decisions) • การตัดสินใจในนโยบายการเงิน (Policy decisions)

  4. การควบคุมการเงินและการบัญชีการควบคุมการเงินและการบัญชี

  5. วัตถุประสงค์การควบคุมการรับ-จ่ายเงินวัตถุประสงค์การควบคุมการรับ-จ่ายเงิน • เพื่อบริหารการรับ-จ่ายเงิน และการควบคุมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามระเบียบ • เพื่อให้การบันทึกบัญชีการรับ-จ่ายเงิน เป็นไปอย่างถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน

  6. ขั้นตอนการควบคุมการรับเงินขั้นตอนการควบคุมการรับเงิน • การรับเงิน • กำหนดเจ้าหน้าที่ในการรับเงินชัดเจน • ให้มีผู้รับผิดชอบกำกับดูแล การรับเงิน เก็บรักษาเงิน • แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบและเก็บรักษาเงิน • ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน • ควบคุมการใช้ใบเสร็จรับเงิน • การรับเงินต้องมีการออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง

  7. ขั้นตอนการควบคุมการรับเงิน (ต่อ) • การเขียนผิดในใบเสร็จรับเงินให้ขีดฆ่าและลงลายมือชื่อกำกับ • ใบเสร็จรับเงินเล่มใดใช้ไม่หมดในปีงบประมาณ ให้เจาะรู • ตรวจสอบยอดเงินสดกับหลักฐานการรับเงินที่บันทึกบัญชี • นำเงินส่งกองคลัง หรือฝากธนาคารทุกสิ้นวัน • จัดให้มีตู้นิรภัยหรือสถานที่เก็บรักษาเงินที่ปลอดภัย • ทำรายงานเงินสดคงเหลือประจำวัน

  8. ขั้นตอนการควบคุมการจ่ายเงินขั้นตอนการควบคุมการจ่ายเงิน • การจ่ายเงิน • กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบ กำกับดูแล การจ่ายเงิน • จัดทำทะเบียนคุมการจ่ายเงิน • ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน • ก่อนจ่ายเงิน ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจทุกครั้ง • ตรวจสอบเอกสาร หลักฐานก่อนจ่ายเงิน

  9. ขั้นตอนการควบคุมการจ่ายเงินขั้นตอนการควบคุมการจ่ายเงิน • จ่ายเงินเจ้าหนี้ให้จ่ายเป็นเช็ค • ตรวจสอบรายการบันทึกบัญชีกับหลักฐานการจ่าย • มีมาตรการป้องกันและเก็บรักษาสมุดเช็ค • กำหนดผู้มีอำนาจร่วมลงนามสั่งจ่ายเช็ค • เก็บรักษาหลักฐานการจ่ายเงินเพื่อตรวจสอบต่อไป

  10. ระบบบัญชีและการควบคุมทางบัญชีระบบบัญชีและการควบคุมทางบัญชี • การบัญชี หมายถึง การบันทึกรายการเงินทั้งในด้านรายรับ-รายจ่าย ตลอดจนการโอนบัญชี การแยกประเภท การสรุปผล และการแปลความหมาย • ระบบบัญชี • เกณฑ์เงินสด (Cash basis) • เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis)

  11. การควบคุมทางบัญชี • ระบบบัญชีที่เกี่ยวข้อง • การจัดทำบัญชีของหน่วยงานภาครัฐตามเกณฑ์คงค้าง • การกำหนดความรับผิดชอบในการบันทึกบัญชี • เอกสารทางบัญชี • การจัดวางระบบบัญชี

  12. การบริหารสินทรัพย์ สินทรัพย์ (ตามหลักการบัญชี) หมายถึง เงินสด และสินทรัพย์อื่น ที่องค์กรมีไว้เพื่อเปลี่ยน เป็นเงินสดหรือขายหรือเพื่อใช้ในการดำเนินงานขององค์กร ประเภทของสินทรัพย์ 1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current assets) 2. สินทรัพย์ถาวร (Fixed assets) 3. สินทรัพย์อื่น (Other assets)

  13. ประเภทของสินทรัพย์ • พัสดุ • วัสดุ • ครุภัณฑ์ • ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • ที่ดิน • สิ่งก่อสร้าง

  14. การควบคุมการพัสดุ

  15. วงจรการบริหารงานพัสดุวงจรการบริหารงานพัสดุ วางแผน / กำหนดโครงการ จำหน่าย กำหนดความต้องการ ควบคุมบำรุงรักษา ขอตั้งงบประมาณ แจกจ่าย วางแผนการจัดหา จัดหา

  16. หลักการจัดหาที่ดี • พัสดุที่จัดหา • - คุณภาพดี • - มีปริมาณถูกต้อง • - ส่งของตรงเวลา • - ราคาที่เหมาะสม • คุณสมบัติผู้ประกอบการ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด กระบวนการดำเนินการ กระบวนการพิจารณา โปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม ตรวจสอบได้ จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ

  17. ขั้นตอนการจัดหา 1. พิจารณาความจำเป็น/ความต้องการในการใช้งาน 2. พิจารณากำหนดคุณลักษณ์เฉพาะ/รูปแบบ/รายละเอียด 3. พิจารณาวิธีการจัดหา 4. ดำเนินการจัดหา 5. คัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 6. แจ้ง/ทำการตกลงหรือทำสัญญา 7. ควบคุมการปฏิบัติตามสัญญา 8. ตรวจรับ 9. ลงบัญชี/ทะเบียน และส่งมอบผู้ใช้งาน 10. ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องในระหว่างรับประกัน

  18. ทำรายงานขอซื้อ/จ้างพัสดุทั่วไปทำรายงานขอซื้อ/จ้างพัสดุทั่วไป ที่ดิน ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ตกลงราคา ดำเนินการ สอบราคา ประกวดราคา วิธีพิเศษ ขออนุมัติซื้อ / จ้าง กรณีพิเศษ วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Auction ) ทำสัญญา การซื้อการจ้างทั่วไป เปลี่ยนแปลงรายการ การจ้างก่อสร้าง ตรวจรับ งด/ลดค่าปรับ ขยายเวลา บอกเลิก เบิกจ่าย

  19. ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อบกพร่องในการจัดซื้อจัดจ้างข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อบกพร่องในการจัดซื้อจัดจ้าง 1. การกำหนด Specifications ไม่ถูกต้อง 2. ปัญหาการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 3. การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาในการจ้างก่อสร้าง 4. การเผยแพร่ประกาศสอบราคา 5. ระยะเวลาในการยื่นซองสอบราคา 6. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ก่อนเปิดซองราคา

  20. ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อบกพร่องในการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) 7. ระยะเวลาในการประกาศประกวดราคา 8. วิธีการประกาศประกวดราคา 9. วิธีการส่งประกาศประกวดราคาทางไปรษณีย์ 10. การซื้อ การจ้าง โดยวิธีพิเศษ

  21. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ • วางตัวเป็นกลาง • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตสำนึก โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีทัศนคติที่ดี พัฒนาตนเองอยู่เสมอ • ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ • ใช้ทรัพย์สินอย่างคุ้มค่า ประหยัด มีประสิทธิภาพ • คำนึงถึงประโยชน์ของหน่วยเป็นหลัก ยึดหลักความถูกต้อง ยุติธรรม ความสมเหตุสมผล • ร่วมงานกับผู้บังคับบัญชา/ผู้ร่วมงานด้วยความเอาใจใส่ ร่วมมือช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา และพัฒนางาน

  22. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ (ต่อ) • ไม่เรียกร้อง/รับ/ยอมรับ ทรัพย์สิน/ผลประโยชน์ จากผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มี • ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ • ปฏิบัติต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง/ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้วยความเป็นธรรมเอื้อเฟื้อมี • น้ำใจและต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อการแข่งขันอย่างเสรี/เป็นธรรม • ร่วมกับทุกฝ่ายสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ/ • ผู้เกี่ยวข้องให้พัฒนางานเป็นวิชาชีพเฉพาะสาขาหนึ่ง • ผู้บังคับบัญชาพึงเอาใจใส่ผู้ปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษา/คำแนะนำการ • ปฏิบัติงาน รับฟังความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

  23. วัตถุประสงค์การควบคุมพัสดุวัตถุประสงค์การควบคุมพัสดุ • เพื่อบริหารจัดการพัสดุอย่างเหมาะสม • เพื่อการจัดซื้อจัดจ้าง การจำหน่ายพัสดุมีความโปร่งใสถูกต้องตาม • ระเบียบ • เพื่อใช้พัสดุคุ้มค่าและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด • เพื่อมีระบบควบคุมเก็บรักษาพัสดุอย่างเหมาะสม

  24. วัตถุประสงค์การควบคุมพัสดุวัตถุประสงค์การควบคุมพัสดุ • การจัดหาพัสดุ • การใช้ การควบคุมและการเก็บรักษาพัสดุ • การซ่อมแซมและการบำรุงรักษาพัสดุ • การจำหน่ายพัสดุ

  25. การควบคุมด้านพัสดุ การจัดหาพัสดุ • กำหนดนโยบายแผนการจัดหาพัสดุ • ผู้บริหารต้องกำกับดูแลการจัดหาพัสดุให้เป็นไปตามระเบียบ • แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดหา การควบคุมพัสดุ • หมุนเวียนการปฏิบัติงานด้านพัสดุ • ก่อนการจัดหาต้องบันทึกการควบคุมงบประมาณ • ให้หน่วยเบิกตรวจสอบงบประมาณ

  26. การจัดหาพัสดุ • มีการจัดหาพัสดุตามที่แจ้งความต้องการ • กำหนดระยะเวลาจัดหา แต่ละวิธีให้ทันความต้องการ • ทะเบียนผู้ขาย ราคา ปริมาณ เปรียบเทียบราคาซื้อครั้งล่าสุด • การจัดหาทุกวิธีต้องเป็นไปตามกฎระเบียบ • มอบอำนาจด้านพัสดุเพื่อความคล่องตัว • กรรมการทุกชุด ประเภทต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ • การรวมซื้อพัสดุคราวละมากๆ • กำหนดรูปแบบสัญลักษณ์ที่เน้นมาตรฐาน

  27. การใช้และการควบคุมการเก็บรักษาพัสดุการใช้และการควบคุมการเก็บรักษาพัสดุ • จัดทำแนวปฏิบัติหรือคู่มือเกี่ยวกับการใช้พัสดุ • สร้างจิตสำนึกการใช้ดูแลพัสดุ • สำรวจพัสดุให้ถูกต้องตามความเป็นจริง • ทำรายการสำรวจตามระยะเวลาที่ระเบียบกำหนด • ทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน • สถานที่เก็บพัสดุอยู่ในสภาพที่ดีและปลอดภัย • มีการบันทึกการใช้รถยนต์ • กำหนดเกณฑ์การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

  28. การซ่อมแซมและการบำรุงรักษาการซ่อมแซมและการบำรุงรักษา • กำหนดแผนการซ่อมบำรุงของพัสดุ • กำหนดหรือมอบหมายให้ผู้ใช้เป็นผู้ดูแลรักษาพัสดุ • ทำทะเบียนประวัติการซ่อมทุกครั้ง • ประกันภัยทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูง

  29. การจำหน่ายพัสดุ • รายงานพัสดุที่หมดความจำเป็น • ประชาสัมพันธ์การจำหน่ายพัสดุให้ทั่วถึง • ตั้งคณะกรรมการจำหน่ายพัสดุ • รายงานการจำหน่ายพัสดุ

  30. ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) • ความเป็นมา กำหนดให้หน่วยงานของรัฐ ลงประกาศจัดซื้อจัดจ้าง/ประกาศประกวดราคา ในเว็บไซด์

  31. ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้าถึงแหล่งข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยความถูกต้องและรวดเร็ว • เพื่อให้ผู้บริหารและส่วนราชการสามารถติดตามสถานะหรือความคืบหน้าของการจัดซื้อจัดจ้างได้ในลักษณะ Online • เพื่อเร่งรัดให้ส่วนราชการเร่งดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ให้สามารถเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล

  32. ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) • ประโยชน์ที่ได้รับ e-GP คือ ศูนย์กลางที่เป็นหน้าต่างในการบริการข้อมูล และดำเนินธุรกรรมทางการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

  33. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน “ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544” เจ้าหน้าที่ผู้ใดจงใจฝ่าฝืนมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ ถือว่ากระทำความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง ต้องได้รับโทษปรับทางปกครอง

  34. อัตราโทษทางปกครอง 4 ชั้น • โทษขั้นที่ 1 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน • โทษขั้นที่ 2 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 2-4 เดือน • โทษขั้นที่ 3 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 5-8 เดือน • โทษขั้นที่ 4 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 9-12 เดือน

  35. เหตุยกเว้นโทษทางปกครองและอายุความเหตุยกเว้นโทษทางปกครองและอายุความ • ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา • กำหนดระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันกระทำความผิดเป็นอันขาดอายุความ

  36. โทษขั้นที่ 1 • รับเงินโดยไม่ออกหลักฐาน • ไม่นำเงินฝากคลังหรือเก็บรักษาในธนาคารตามระเบียบ • ละเลยไม่ปิดประกาศสอบราคา ประกวดราคาหรือเผยแพร่เอกสารในการจัดซื้อ/จัดจ้าง

  37. โทษขั้นที่ 2 • ไม่นำเงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืนฝากคลังภายในระยะเวลาที่ระเบียบกำหนด • ละเลยไม่เร่งรัดหรือติดตามทวงคืนเงินยืมตามระเบียบ • ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชีหรือทะเบียนพัสดุ • ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบพัสดุประจำปีไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ไม่ถูกต้องตามระเบียบ • ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับยานพาหนะ ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบ

  38. โทษขั้นที่ 3 • การเบิกเงินหรือจ่ายเงิน ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ • จ่ายเงินโดยไม่มีหลักฐาน • ทำหลักฐานการเบิกเงินเป็นเท็จ • ไม่เร่งรัดหรือดำเนินการตามแผนงานโครงการโดยปราศเหตุผล • ยืมเงินโดยไม่ถูกต้องตามระเบียบ • พิจารณาผลผู้เสนอราคาที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข • ผู้บังคับบัญชาไม่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบพัสดุประจำปี

  39. โทษขั้นที่ 4 • แบ่งแยกวงเงิน จัดซื้อ/จ้าง ทำให้อำนาจ วิธีการเปลี่ยนไป • กีดกันหรือเอื้อประโยชน์ให้รายใดรายหนึ่งในการสอบราคา/ประกวดราคา • ละเลยไม่ปิดประกาศสอบราคา ประกวดราคาหรือเผยแพร่เอกสารในการจัดซื้อ/จัดจ้าง ทำให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ • ผู้บังคับบัญชาทำการบริหารการเงินการคลังด้วยความเสี่ยง โดยปราศจากเหตุผลอันสมควร ทำให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ

  40. ถ้าเป็นผู้บังคับบัญชา ต้องรับโทษปรับทางปกครองเพิ่มอีกอย่างละ 1 ขั้น

  41. ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี • พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ • ประมวลกฎหมายอาญา • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ประมวลรัษฎากร

  42. ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 • หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • มติคณะรัฐมนตรี • หนังสือแจ้งเวียนต่าง ๆ • ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและหนังสือแจ้งเวียนของมหาวิทยาลัย

  43. การจัดการกระบวนการทำงานด้านการเงินและสินทรัพย์การจัดการกระบวนการทำงานด้านการเงินและสินทรัพย์ กระบวนการทำงาน หมายถึง ความสัมพันธ์เชื่อมโยง มีรูปแบบแน่นอนของกิจกรรม การทำงานหลาย ๆ กิจกรรม ที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีการออกแบบไว้ล่วงหน้า

  44. ปัญหา 1. การแบ่งงานออกเป็นฝ่ายหรือหน่วยงานจำนวนมาก 2. ขั้นตอนการทำงานและระบบการเดินเอกสารมากเกินความจำเป็น 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลกระจัดกระจาย ยากต่อการเรียกใช้ 4. ใช้ระเบียบในการบริหารงาน ควรบริหารระเบียบในการทำงาน

  45. ปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ • สนับสนุนบรรยากาศการทำงานเป็นทีม • ปรับปรุงกระบวนการทำงาน • ปรับปรุงวิธีการทำงาน • ทำลายกำแพงระหว่างฝ่ายต่าง ๆ

  46. การปรับปรุงกระบวนการทำงานและวิธีการทำงานการปรับปรุงกระบวนการทำงานและวิธีการทำงาน • การศึกษาการทำงาน (Work Study) • การวิเคราะห์วิธีการทำงาน • การปรับปรุงงาน

  47. การศึกษาการทำงาน • การเลือกงาน • การบันทึกงาน • การวิเคราะห์งาน • การปรับปรุงงาน • การเปรียบเทียบประเมินผลการปรับปรุงงาน • การประยุกต์ใช้การศึกษาการทำงาน

  48. การวิเคราะห์วิธีการทำงานการวิเคราะห์วิธีการทำงาน • กลุ่ม 6 W- 1H (What, Who, Where, When, How) - เป้าหมายและขอบข่ายของงานแต่ละกิจกรรม - บุคลากรที่ทำงานแต่ละกิจกรรม - สถานที่ทำงาน - ลำดับขั้นตอนการทำงาน - วิธีการทำงาน

  49. การวิเคราะห์วิธีการทำงาน • กลุ่ม Why, Which - พัฒนาแนวทางการปรับปรุงงาน วิธีการทำงาน โดยจะตรวจสอบเหตุผล ความเหมาะสมและเปิดโอกาสในการเสนอทางเลือกอื่น ๆ

  50. การปรับปรุงงาน • ตัด • รวม • เปลี่ยนขั้นตอน • ทำให้ง่าย • ใช้เครื่องมืออุปกรณ์เข้าช่วย

More Related