1 / 19

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย. โดย นายราเชนทร์ พจนสุนทร รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ 16 มีนาคม 2555. Overview. 1. 2. 3. ไทยได้ดุลการค้ามาตลอด ยกเว้นปี 2540 , 2548 และ 2551. ล้านเหรียญสหรัฐ. ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย. ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555

ursa
Télécharger la présentation

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับทิศทางธุรกิจบริการสุขภาพของไทย โดย นายราเชนทร์ พจนสุนทร รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ 16 มีนาคม 2555

  2. Overview 1 2 3

  3. ไทยได้ดุลการค้ามาตลอดไทยได้ดุลการค้ามาตลอด ยกเว้นปี 2540, 2548 และ 2551 ล้านเหรียญสหรัฐ ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 • GDP ขยายตัวร้อยละ 5.5 - 6.5 • การส่งออกขยายตัวที่ร้อยละ 15 • ตลาด ASEAN ขยายตัวร้อยละ 15.6 • เงินเฟ้อที่ระดับร้อยละ 3.3 - 3.8 - ธนาคารโลกคาดการณ์ขยายตัวของ เศรษฐกิจโลกที่ร้อยละ 2.5 ข้อมูล: - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมฯ - กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ 56% 47% ล้านเหรียญสหรัฐ

  4. ตลาดขนาดใหญ่ • ASEAN +6…. • Half of World Population • 28% of world’s GDP (2011) with 31% upward trend in 2015 • Account for 24% of world net FDI ASEAN+ 3 50% ASEAN+ 6 56% ที่มา :Population by the World Bank , GDP forecast by IMF, FDI (net inflows) by the World Bank Thailand Trade by Ministry of Commerce and Customs Department

  5. เทียบกับอาเซียน ไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ: ไทยกับอาเซียน • รายได้ต่อหัว: 1. สิงคโปร์ (50,795 USD) 2. บรูไน (48,194 USD) 3. มาเลเซีย (13,493 USD)4. ไทย (8,056 USD) • การใช้จ่ายเพื่อบริโภค: 1. ฟิลิปปินส์ (74% ของ GDP) 2. เวียดนาม (67%) 3. อินโดนีเซีย (59%)4. ไทย (55%) • ตลาดท่องเที่ยว: 1. มาเลเซีย (22 ล้านคน)2. ไทย (14 ล้านคน) 3. สิงคโปร์ (7 ล้านคน) 4. อินโดนีเซีย (6 ล้านคน) • ปัจจัยที่เอื้อต่อการลงทุน • คุณภาพคน(จากสูงสุด): 1. สิงคโปร์ 2. บรูไน 3. มาเลเซีย 4. ไทย • ต้นทุนการทำธุรกิจ (จากต่ำสุด): 1. สิงคโปร์ (0.7% ของ GNI per capita) 2. ไทย (6.3%) 3. บรูไน (9.8%) 4. มาเลเซีย (11.9%) • เวลาในการจัดตั้งธุรกิจ (จากน้อยสุด) 1. สิงคโปร์ (3 วัน) 2. มาเลเซีย (11 วัน) 3. ไทย (32 วัน) 4. เวียดนาม (50 วัน)

  6. AEC ข้อตกลงทางการค้าและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี E-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ออกไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ปี 2558 (2015) 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต/จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน

  7. ปี 2558 ข้อตกลงทางการค้าและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความตกลงเขตการค้าเสรี: FTA ที่?ที่มีผลบังคับใช้แล้ว 1. เพื่อทำให้ภาคการส่งออกขยายตัว * เปิดตลาดสินค้า -- ลดภาษีนำเข้าเหลือร้อยละ 0 * เปิดตลาดบริการ -- มีการขยายตลาด/บริการ และ การลงทุนในธุรกิจบริการ 2. ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ 3. เพื่อหาแหล่งเงินทุน และแหล่งออกไปลงทุน 4. เพื่อหาแหล่งวัตถุดิบ 5. เพื่อหาแรงงานในสาขาที่ขาดแคลน 6. เพื่อหาแนวทางพัฒนาบุคลากร และเทคโนโลยี ฯลฯ 1. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน AFTA 2. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น JTEPA 3. ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย TAFTA 4. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน ACFTA 5. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น AJCEP 6. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้ AKFTA 7. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย AIFTA 8. ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ AANZFTA 9. โครงการเก็บเกี่ยวล่วงหน้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี ไทย-อินเดีย TIFTA

  8. ธุรกิจบริการของไทย - รายได้จากธุรกิจบริการทั้งหมดในปี 2553 มีมูลค่ากว่า 4.9 ล้านล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 47 ของ GDP - สาขาบริการก่อให้เกิดการจ้างงานประมาณร้อยละ 40 ขณะที่ภาคเกษตรกรรมมีการจ้างงาน ร้อยละ 39 ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 19 • สาขาบริการที่มีบทบาทมากที่สุด ได้แก่ ค้าส่ง-ค้าปลีก ซ่อมยานพาหนะ ขนส่งและคมนาคม โรงแรม ภัตตาคาร การศึกษา การเงิน ก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ และบริการสุขภาพ • ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • - AEC เปิดเสรีบริการ 5 สาขา • ปี 2010: สุขภาพ , ICT, ท่องเที่ยว, ขนส่งทางอากาศ, Telecom • ปี 2015: Logistics • ปี 2018: Other services • Liberalization for ASEAN’s participation Shareholder ≥ 70 • การเคลื่อนย้ายบริการเสรี: เพิ่มสัดส่วนถือหุ้นของต่างชาติในธุรกิจบริการ

  9. ร้านอาหารไทย การศึกษานานาชาติ แฟรนไชส์ ธุรกิจบริการที่ไทยมีศักยภาพ การจัดกิจกรรมและงานแสดงสินค้า ภาพยนตร์ และบันเทิง การพิมพ์ Software Digital Content ออกแบบก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ Long Stay อู่ซ่อมรถยนต์ อู่จอด/ต่อ/ ซ่อมเรือ ผลิตเสื้อผ้าสั่งตัด รักษาพยาบาล ท่องเที่ยว และโรงแรม สปา กำจัดสิ่งปฏิกูล สุขาภิบาล เสริมความงาม

  10. ข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ส่งเสริมธุรกิจบริการของกระทรวงพาณิชย์ข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ส่งเสริมธุรกิจบริการของกระทรวงพาณิชย์ โดยกรมส่งเสริมการส่งออก

  11. ทิศทางของธุรกิจบริการสุขภาพไทยใน AEC

  12. ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและสมุนไพรไทย และธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพ • ในปี 2550 ไทยมีโรงพยาบาล 1,973 แห่ง มีแพทย์ทั่วไปและเฉพาะทางรวม 22,018 คน • (สัดส่วนแพทย์ 3 คนต่อประชากร 10,000 คน) และลูกจ้าง 318,784 คน • ปี 2554 มีผู้ประกอบโรคศิลปะ 60,765 คน • ชาวต่างชาติมารักษาพยาบาลในไทยปีละประมาณ 1.3 ล้านคน ประมาณการรายได้จากค่ารักษาและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องประมาณ 1 แสนล้านบาท • ปี 2550 มีผู้ป่วยชาวต่างชาติ 1.37 ล้านคน แบ่งเป็น ชาวต่างประเทศในไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ร้อยละ 41 นักท่องเที่ยว ร้อยละ 32 และผู้ที่เดินทางมาเพื่อรักษาตัว ร้อยละ 26.6 • ปี 2555 คาดว่าจะมีผู้ป่วยชาวต่างประเทศกว่า 2 ล้านคน และมีแนวโน้มการขยายตัวประมาณ ร้อยละ 20-25 • ปี 2555 ประมาณการรายได้จากธุรกิจสุขภาพ มูลค่า 81,259 ล้านบาท ข้อมูลธุรกิจ ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่มา: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการบริหารศูนย์กลางสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  13. บริการด้านสุขภาพและสังคมบริการด้านสุขภาพและสังคม ด้านสุขภาพ ด้านสังคม Hospital Services การให้บริการโรงพยาบาลภายใต้การดูแลของแพทย์แบบผู้ป่วยใน Other Human Health Services เช่น การพยาบาลดูแลผู้ป่วย,กายภาพบำบัด,Para-Medical Services, รถพยาบาล, ที่พักฟื้นผู้ป่วย, Lab testing, R&D, Health insurance, Life Science Medical & Dental Services การให้บริการการแพทย์และทันตแพทย์ แบบผู้ป่วยนอก สินค้าที่เกี่ยวข้องกับการบริการสุขภาพ วัสดุอุปกรณ์ทันตกรรม, ยา, อุปกรณ์/เครื่องมือแพทย์, อาหารเสริม, สมุนไพรไทย

  14. กรอบความตกลงสาขาบริการสุขภาพกรอบความตกลงสาขาบริการสุขภาพ • ไทย: ยังไม่ได้ผูกพันในสาขาสุขภาพ รวมทั้งบริการอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ เช่น สปา และนวด • ประเทศสมาชิก WTO อื่นๆ: ส่วนใหญ่อนุญาตให้คนชาติสามารถรับการรักษาพยาบาลในประเทศอื่นและให้จัดตั้งสถานพยาบาลได้ แต่ยังมีข้อจำกัด เรื่องสัดส่วนผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ และ Economic Needs Testเพื่อควบคุมจำนวนสถานพยาบาล • องค์การการค้าโลก (WTO) • ความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service) • ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - จีน (ACFTA) • ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - เกาหลี (AKFTA) • ความตกลงการค้าเสรีไทย - ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ (AANZFTA) • ความตกลงการค้าเสรีไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นไทย - นิวซีแลนด์ (TNZCEP) • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น (JTEPA) ASEAN ได้ลงนามใน Mutual Recognition Arrangement (MRA) สาขาวิชาชีพการแพทย์ และทันตแพทย์ (มีผลบังคับใช้ 25 สิงหาคม 2552) และสาขาพยาบาล (มีผลบังคับใช้ 8 ธันวาคม 2549)

  15. ข้อผูกพันสาขาสุขภาพในกรอบ ASEAN ข้อผูกพันชุดที่ 7 ของไทยในสาขาสุขภาพ บริการด้านโรงพยาบาล บริการที่ดำเนินการโดยพยาบาล เปิดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 บริการทางการแพทย์และทันตแพทย์ จัดตั้งธุรกิจได้เฉพาะรูปแบบแผนกในโรงพยาบาลได้ ไม่เกิน 1 แห่งเท่านั้น บริการด้านสัตวแพทย์ (เฉพาะสัตว์เลี้ยง) ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศไทย ต้องเปิดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ ไม่น้อยกว่า 70% ข้อผูกพันชุดที่ 8 ปี 2554 ลด/ยกเลิกข้อจำกัดอื่นๆ

  16. แผนงานในพิมพ์เขียว AEC: ข้อ5. เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา / ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ ปัจจุบัน ตกลงกัน ได้แล้ว 7 สาขา สาขาแพทย์ สาขาทันตแพทย์ สาขาพยาบาล สาขานักบัญชี สาขานักสำรวจ สาขาสถาปัตยกรรม สาขาวิศวกรรม

  17. บทบาทกระทรวงพาณิชย์ในการพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจบริการบทบาทกระทรวงพาณิชย์ในการพัฒนาและส่งเสริมธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก: ลู่ทางการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า: การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณีของไทย

  18. เป็นตลาดขนาดใหญ่ ประชากร 600 ล้านคน นักท่องเที่ยวจากอาเซียน 5-6 ล้านคนต่อปี ขยายช่องทางบริการ เปิดตัวแทน, เปิดโรงพยาบาลในอาเซียน ฯลฯ ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ – ภาครัฐและโรงพยาบาลเอกชนต้องร่วมมือกันในการผลิต/พัฒนาบุคลากร สร้างมาตรฐานการบริการให้ได้การรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ เน้นจุดเด่นทางอุปนิสัยและวัฒนธรรมของคนไทย “Thai Hospitality” -- ความอ่อนน้อม ความประณีต ซึ่งทำให้การบริการมีความน่าประทับใจ การปรับตัว และขยายโอกาส • ภาครัฐ: การพัฒนาไปสู่การเป็น Medical Hub เตรียมพร้อมเรื่องการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ การพัฒนาคุณภาพบุคลากร การพัฒนามาตรฐานสถานประกอบการ การกำกับดูแลให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงเป็นธรรม การกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นร่วมกับภาคเอกชน • ภาคเอกชน: เตรียมพร้อมรับมือกับการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ยกระดับ/สร้างภาพลักษณ์การให้บริการที่มีคุณภาพ การมีเป้าหมายตลาดเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) การมีเครือข่ายในการทำธุรกิจร่วมกัน • บุคลากรทางการแพทย์ : รู้ภาษาต่างประเทศ ศึกษาวัฒนธรรมของอาเซียน เพื่อขยายโอกาสในการทำงานทั้งในและต่างประเทศ

  19. ขอบคุณ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โทร. 02 5475247 โทรสาร 02 5475248 www.moc.go.th กรมส่งเสริมการส่งออก www.depthai.go.th กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ www.dtn.go.th กรมการค้าต่างประเทศ www.dft.go.th กรมพัฒนาธุรกิจการค้า www.dbd.go.th

More Related