1 / 7

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี. ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.กฤติกร ธนาอภิมนตรี ม.1/11 เลขที่ 2 ด.ช.จักรพันธ์ เทพังเทียม ม.1/11 เลขที่ 6 ด.ช.นฤพล ผิวบาง ม.1/11 เลขที่ 24 ด.ญ.สุชัญญา เปรมฤทัย ม.1/11 เลขที่ 47 ด.ญ.อริยา กฤตยารัตน์ ม.1/11 เลขที่ 49 เสนอ อ.สุมน คณานิตย์.

urvi
Télécharger la présentation

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.กฤติกร ธนาอภิมนตรี ม.1/11 เลขที่ 2 ด.ช.จักรพันธ์ เทพังเทียม ม.1/11 เลขที่ 6 ด.ช.นฤพล ผิวบาง ม.1/11 เลขที่ 24 ด.ญ.สุชัญญา เปรมฤทัย ม.1/11 เลขที่ 47 ด.ญ.อริยา กฤตยารัตน์ ม.1/11 เลขที่ 49 เสนอ อ.สุมน คณานิตย์

  2. บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ • ด.ช.กฤติกร หนัก 95 สูง 168 ซม. ความอ่อนตัว 2 ดันพื้น 26 ลุกนั่ง 28 วิ่ง800ม. 6.35 น. ปัญหา มีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์ สาเหตุ กินอาหารมากเกินไปและเลือกกินอาหารที่มีน้ำตาลมาก รับประทานผักและผลไม้น้อย • ด.ช.จักรพันธ์ หนัก 49 สูง 160 ซม. ความอ่อนตัว 4 ดันพื้น 15 ลุกนั่ง 26 วิ่ง800ม. 6.35 น.ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ • ด.ช.นฤพล หนัก 60 สูง 155 ซม. ความอ่อนตัว -4 ดันพื้น 13 ลุกนั่ง 21 วิ่ง800ม. 6.33 ปัญหา น้ำหนักตัวเกินเกณฑ์และสมรรถภาพควรปรับปรุง สาเหตุ กินอาหารที่มีรสหวานและมีน้ำตาลมาก ไม่ควบคุมการรับประทานอาหาร • ด.ญ.สุชัญญา หนัก 44 สูง 159 ซม. ความอ่อนตัว - ดันพื้น - ลุกนั่ง - วิ่ง800ม. 6.45 น. ปัญหา สมรรถภาพทางร่างกายควรปรับปรุง สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกายและออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ • ด.ญ.อริยา หนัก49 สูง 163 ซม. ความอ่อนตัว 5 ดันพื้น 27 ลุกนั่ง 20 วิ่ง800ม. 6.41 น. ปัญหา ไม่มีปัญหาทางสมรรถภาพทางร่างกาย สาเหตุ ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ

  3. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง • การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ • การเจริญเติบโตสมวัย ภาวะการเจริญเติบโตที่เห็นได้ชัดเจน คือน้ำหนักและส่วนสูง โดยนำผลที่ได้จากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานเพื่อระบุว่าบุคคลนั้นมีการเจริญเติบโตอย่างไรบ้าง ซึ่งเกณฑ์ประเมินผลการ • สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน อาหารสำหรับวัยรุ่นทั่วๆไป ก็คล้ายๆกับสัสส่วนอาหาร ซึ่งทางเวชศาสตร์ด้านความชราแนะนำคือ ควรได้รับพลังงานจากโปรตีนร้อยละ 10-15 เทียบได้กับเนื้อสัตว์ 45-60 กรัมต่อวัน หรือ 2-3 ส่วนต่อวัน คาร์โบรไฮเดตร้อยละ 45-65  และควรเป็นรูปเชิงซ้อน เช่น กลุ่มแป้ง ข้าว ขนมปัง 8-12 ทัพพี ผัพ 2-4 ส่วนต่อวัน ผลไม้ และควรรับประทานของสด 3-5 ส่วนต่อวัน ไขมันน้อยกว่าร้อยละ 30 น้ำตาล เกลือเล็กน้อย แคลเซียม 1200-1500 มิลลิกรัมต่อวัน ธาตุเหล็ก 12-15 มิลลิกรัมต่อวัน • วิธีการดูแลน้ำหนัก ควบคุมน้ำหนักตัวให้พอดีตามเกณฑ์คือ ควรอาหารให้ตรงเวลา กินให้เป็นมื้อ เช่น เช้า กลางวัน และเย็น แต่มื้อเย็นควรกินก่อน 6 โมงลงไป เนื่องจากจะมีการเผ่าผราญไม่ทันในแต่ละวัน และ ควรออกกำลังกาย • เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย เป็นประจำ เช่น เต้น เล่นกีฬา

  4. บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน

  5. บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน

  6. บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน • สมาชิกในกลุ่มมีการพัฒนาทางร่างกายที่ดีขึ้นเนื่องจากรับประทานอาหาร ครบ 5หมู่ และออกกำลังกายเพื่อทำให้ร่างกายมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น • ส่วนคนที่ไม่มีการพัฒนาการเนื่องจากรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ • และไม่ออกกำลังกาย

  7. บรรณานุกรม M www.megasortnutrition.com www.afic.prg www.student.chula.ac.th www.sites.google.com

More Related