1 / 11

สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน แลà¸

สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต. กรมอนามัย และ ศูนย์อนามัยที่ 1-12. วัตถุประสงค์. 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน. เพื่อพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต. 2. เพื่อเสนอทางเลือกการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเชิงระบบ. 3. หลักการพยากรณ์.

varuna
Télécharger la présentation

สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน แลà¸

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบันและการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคตสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบันและการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต กรมอนามัย และ ศูนย์อนามัยที่ 1-12

  2. วัตถุประสงค์ Company LOGO 1 เพื่อศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน เพื่อพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต 2 เพื่อเสนอทางเลือกการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเชิงระบบ 3

  3. หลักการพยากรณ์ Company LOGO ตัวชี้วัดด้านสุขภาพที่ใช้เป็นเกณฑ์การประเมินประสิทธิผล การดูแลเด็กปฐมวัยแต่ละตัวล้วนเป็นปัจจัยมีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กทั้งสิ้น เมื่อสถานะสุขภาพไม่ดีย่อมส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้ามากขึ้น ดังนั้น ถ้าตัวชี้วัดด้านสุขภาพส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ พัฒนาการเด็กก็ไม่น่าจะผ่านเกณฑ์ด้วย จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับขนาดของอิทธิพลด้านสุขภาพและสังคม พบว่า สุขภาพและการเข้าถึงบริการคุณภาพมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%* และ 99%** Janchua, Pannarunuthai. Effects of Early Child Care in PCU. 2009.

  4. ขนาดของอิทธิพลด้านสุขภาพและสังคมขนาดของอิทธิพลด้านสุขภาพและสังคม Company LOGO •   * P-value <0.05 ** P-value <0.001   Janchua, Pannarunuthai. Effect Size on Early Child Development: A Systematic review and Meta-analysis. 2007.

  5. Estimated ECD = 71.98 - 84.34% X = 78.16

  6. Estimated Long Term Effects (OsbornandMilbank,1987 cited in Gordon Cleveland and Michael Krashinsky,1998)

  7. Estimated Cost-Benefit งบประมาณส่งเสริมและป้องกันโรคสู่ประชาชน ระดับจังหวัด,อำเภอ = 20.21 บาท/คน ระดับตำบล = 37.50 บาท/คน (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. 2550, สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย) Cost-Benefit Ratio Quality of Care = 1: 7.16 Home Visit= 1: 5.63 (Chok-wan Chan. 2003) Estimated Benefit Q-Care: 145 – 269 ฿ H-Visit: 114 – 211 ฿

  8. Estimated ECD = 93.22 - 94.41% X = 93.82

  9. กรอบแนวคิด Company LOGO พัฒนาการเด็ก Indicators • สุขภาพแรกคลอด • การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ภาวะโภชนาการ • การเข้าถึงบริการคุณภาพ • วิกฤติครอบครัว Evidences (%) X • Early Child Development Effect Size • Long Term Changing Effects • Cost-Benefits Ratio งบประมาณส่งเสริมป้องกันโรค • Quality of Care • Home Visit Estimated Early Child Development Estimated Long Term Effects Estimated Cost-Benefits Estimated Health Indicators

  10. ระเบียบวิธีวิจัย Company LOGO • Prediction Research • กลุ่มเป้าหมาย : เด็กปฐมวัยในประเทศไทย • การเก็บข้อมูล : สัมภาษณ์ ทดสอบพัฒนาการ ทบทวนเอกสาร • เครื่องมือ : แบบสอบถาม, DenverII, แบบประเมินภาวะโภชนาการ, สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • การวิเคราะห์ : OR, Percentage, Mean • รายงาน : ตารางพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต • สรุป : ทางเลือกการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเชิงระบบ

  11. Thank You ! d_janchua@hotmail.com

More Related