1 / 36

กฎอัยการศึก

กฎอัยการศึก. โดย พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประกาศนียบัตรกฎหมายระหว่างประเทศ ของสถาบันกฎหมายระหว่างประเทศกรุงเฮก nitinor@yahoo.com. เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์.

Télécharger la présentation

กฎอัยการศึก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎอัยการศึก โดย พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประกาศนียบัตรกฎหมายระหว่างประเทศ ของสถาบันกฎหมายระหว่างประเทศกรุงเฮก nitinor@yahoo.com เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  2. กรณีศึกษาเหตุการณ์ตากใบกรณีศึกษาเหตุการณ์ตากใบ justice must be seen to be done

  3. ภาพรวมกฎอัยการศึก ครม. พระมหากษัตริย์ จลาจล ประกาศพระบรมราชโองการ ให้ใช้กฎอัยการศึก เหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ผบ.ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก สงคราม ข้อความในกฎหมายใดที่ขัดกับความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร ห้าม ขับไล่ ค้น ยึด เกณฑ์ กัก ทำลาย เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือประชาชน/เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน

  4. ความหมาย กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร ต่อ เอกชนหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน โดย - เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน - รัฐมีอำนาจเหนือกระทำการที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในกรณีมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  5. ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับกฎหมายเอกชน(1) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  6. ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับ กฎหมายเอกชน(2) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  7. ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึก กับ กฎหมายเอกชน(3) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  8. เหมือนกัน : 1.ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในสถานการณ์คล้ายกัน 2.เจ้าหน้าที่จะใช้อำนาจได้ก็ต่อเมื่อมีการประกาศ ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎอัยการศึก พ.ศ.2457กับ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548(พรก.ฉุกเฉิน) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  9. ข้อแตกต่าง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  10. เว้นแต่ ในกรณีสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือในยามสงคราม : ความจำเป็นคือกฎหมาย หากมีการโจมตีประเทศใดประเทศหนึ่งด้วยอาวุธ ประเทศนั้นย่อมมีสิทธิ/อำนาจที่จะกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของประเทศตนเองได้ (กฎบัตรสหประชาชาติ ข้อ 51) เจ้าหน้าที่จะกระทำการใดที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจ และจะต้องกระทำภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้เท่านั้น หลักการป้อง กันตัวของรัฐ บุคคลที่มีสถานะเหมือนกันย่อมได้รับการปฏิบัติที่เหมือนกัน ถ้าบุคคลมีสถานะแตกต่างกัน ย่อมต้องได้รับการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้วย หลักกฎหมายพื้นฐานของกฎอัยการศึก หลักความเสมอภาค หลักความชอบด้วยกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุ กฎการใช้กำลัง (ROE) ไม่มีความเสมอภาคในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หลักความเหมาะสม : รัฐมีอำนาจออกมาตรการเป็นที่ยอมรับหรือแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุอย่างแคบ : มาตรการที่รัฐเลือกใช้ จะต้องไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้ได้รับผลกระทบจนเกินขอบเขต หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล หลักความจำเป็น : มาตรการที่รัฐออกมานั้น จะต้องก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ น้อยกว่า มาตรการอื่นที่รัฐมีอำนาจเลือกใช้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  11. ความเป็นมาของกฎอัยการศึกไทยความเป็นมาของกฎอัยการศึกไทย กฎอัยการศึก ร.ศ.126 • ให้อำนาจพระมหากษัตริย์และ ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก • ประกาศได้เฉพาะกรณีเหตุจำเป็น สงคราม จลาจล • ให้อำนาจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารค้น ขับไล่ ให้ส่งอาวุธและกระสุนดิน ตรวจและจับกุม เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  12. วัตถุประสงค์ของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 • เพื่อสำหรับวางแผนการรักษาพระราชอาณาจักร ด้วยอำนาจและกำลังทหาร ( กฎเสนาบดี ม.1 ) • เพื่อตระเตรียมการให้พร้อมไว้ เมื่อมีเหตุจำเป็นก็ปฏิบัติการได้ถูกต้องทันที(กฎเสนาบดี ม.1 ) • เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ ป้องกันมิให้มีภัยคุกคาม ในยามที่หน่วยงานของรัฐอื่นขาดศักยภาพ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  13. เหตุอันจำเป็นเพื่อรักษาความเรียบร้อยปราศจากภัย ซึ่งจะมีมาจากภายนอกหรือภายในราชอาณาจักร ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.2) เหตุที่จะประกาศใช้กฎอัยการศึก ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก • พระมหากษัตริย์ หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ • รัฐธรรมนูญ(2550)มาตรา 188 วรรคแรก บัญญัติว่า“ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการประกาศใช้และเลิกใช้กฎอัยการศึกตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” • (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457ม.2) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  14. ผู้บังคับบัญชาทหาร (ผบ.) (กฎอัยการศึก ม.4) ( รัฐธรรมนูญ มาตรา 188 วรรคสอง บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศใช้กฎอัยการศึกเฉพาะแห่งเป็นการรีบด่วน เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารย่อมกระทำได้ตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” ) - ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน - ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร ผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎอัยการศึก เหตุที่จะประกาศใช้กฎอัยการศึก • มีสงคราม • (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) • มีการจลาจล • ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  15. สายงานการบังคับบัญชา(หลัก)สายงานการบังคับบัญชา(หลัก) • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม • ผู้บัญชาการทหารสูงสุด(ผบ.ทหารสูงสุด)(พล.อ.) • ผู้บัญชาการทหารบก(ผบ.ทบ.)(พล.อ.) • แม่ทัพภาค(มทภ.)(พล.ท.) • ผู้บัญชาการกองพล(ผบ.พล)(พล.ต.) • ผู้บังคับการกรม(ผบ.กรม)(พ.อ.) • ผู้บังคับกองพัน(ผบ.พัน)(พ.ต.-พ.ท.) • ผู้บังคับกองร้อย(ผบ.ร้อย)(ร.อ.-พ.ต.) • ผู้บังคับหมวด(ผบ.มว)(ร.ต.-ร.ท.) • ผู้บังคับหมู่(ผบ.ม)(ส.อ.-จ.ส.อ.) • ลูกแถว เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  16. ข้อเหมือนกันระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  17. ข้อแตกต่างระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  18. ข้อแตกต่างของการประกาศใช้กฎอัยการศึกระหว่าง ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน กับ ผบ.ในป้อมหรือที่มั่น

  19. หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศใช้กฎอัยการศึกหลักเกณฑ์และวิธีการประกาศใช้กฎอัยการศึก 1. ต้องประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร 2. ต้องกล่าวถึงเหตุที่จะต้องประกาศใช้กฎ 3. ต้องกล่าวถึงพื้นที่ที่จะประกาศใช้กฎ 4. ต้องกล่าวถึงวันเวลาที่เริ่มใช้กฎ 5. ต้องกล่าวถึงตำบลที่เขียนประกาศและ วันเวลาที่ออกประกาศ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  20. หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศใช้กฎอัยการศึกหลักเกณฑ์และวิธีการประกาศใช้กฎอัยการศึก 6. ต้องกล่าวถึงยศ บรรดาศักดิ์ หรือนาม ตำแหน่ง ของผู้ประกาศใช้กฎ 7. ควรปรึกษา ผบ.เหนือตน นายทหารเหนือตน ฝ่ายปกครอง เว้นแต่ ไม่มีเวลา 8. เมื่อประกาศแล้ว ให้รายงานชี้แจงเหตุผลต่อ รมว.กห. , ผบ.ของตน , คัดสำเนาพร้อมแผนที่ ส่งไปฝ่ายปกครอง , ให้ผู้ประกาศ ฯ และนายทหารในกรมกองชี้แจงประชาชนให้ทราบและเข้าใจวิธีการ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  21. ข้อความในกฎหมายใด ขัดกับ ความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน มีอำนาจเหนือ คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน คือ... ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(1) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  22. เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเต็ม ที่จะกระทำการดังนี้ ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(2) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  23. ห้าม(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 11) • จำกัดเสรีภาพการสื่อสาร - ห้ามออก จำหน่าย จ่าย แจก ซึ่งหนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพ บท หรือคำประพันธ์(มาตรา 11(2)) - ห้ามโฆษณา แสดงมหรสพ รับหรือส่งซึ่งวิทยุ วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์(มาตรา 11(3)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  24. จำกัดเสรีภาพการเดินทางจำกัดเสรีภาพการเดินทาง - ขับไล่เมื่อสงสัย หรือจำเป็น - ผู้ซึ่งไม่มีภูมิลำเนา หรือ - ผู้ซึ่งอาศัยเพียงชั่วคราว ให้ออกไปจากเมืองหรือตำบลนั้น ห้าม / ขับไล่ จำกัดเสรีภาพการเดินทาง - ห้ามออกนอกเคหะสถานระหว่างเวลา(มาตรา 11(6)) - ห้ามใช้ทางสาธารณะเพื่อการจราจร (มาตรา 11(4)) - ห้ามเข้า หรืออาศัย ในบริเวณที่จำเป็นเพื่อการยุทธการ ระงับปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบร้อย เมื่อประกาศแล้ว ให้ผู้ซึ่งอาศัยออกไปจากเขตนั้นภายในกำหนดเวลา(มาตรา 11(7)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  25. ห้าม จำกัดเสรีภาพการชุมนุม - ห้ามมั่วสุมประชุม (มาตรา 11(1)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  26. จำกัดสิทธิความเป็นเจ้าของ/กรรมสิทธิ์ จำกัดสิทธิความเป็นเจ้าของ/กรรมสิทธิ์ ห้ามมีหรือใช้ เครื่องมือสื่อสาร อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ และ - เคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่ทำให้เกิดอันตราย ที่อาจทำเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดดังกล่าว (มาตรา 11(5)) ห้ามกระทำ หรือมี ซึ่งกิจการหรือสิ่งอื่นใด ตามที่รมว.กห.กำหนด (มาตรา 11(8)) ห้าม เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  27. ค้น (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 9) • สิ่งซึ่งจะเกณฑ์/ห้าม/ยึด/เข้าอาศัย/มีไว้ในครอบครองโดยไม่ชอบ • บุคคล ในยานพาหนะ/เคหสถาน/สิ่งปลูกสร้าง/ที่ใด ๆ และ ได้ทุกเวลา • ข่าวสาร จดหมาย โทรเลข หีบ ห่อ หรือสิ่งอื่นที่ส่งหรือมีไปมาถึงกัน • หนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา บทหรือคำประพันธ์ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  28. ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่าในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่า - บุคคลใดจะเป็นราชศัตรูหรือ - ได้ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินี้ หรือ ต่อคำสั่งของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจกักตัว เพื่อสอบถามหรือตามความจำเป็น แต่ต้องกักไม่เกินกว่า 7 วัน กัก(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 15ทวิ) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  29. เกณฑ์(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 10) • (คน) พลเมืองให้ช่วยกำลังทหาร • (ทรัพย์สิน) ยวดยาน สัตว์พาหนะ เสบียงอาหาร เครื่องศาตราวุธ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ จากบุคคลหรือบริษัทใด ๆ ซึ่งราชการทหารจะต้องใช้เป็นกำลังในเวลานั้นทุกอย่าง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  30. ยึดสิ่งที่กำหนดไว้ในมาตรา 9 , 10 ,11 ไว้ชั่วคราว เพื่อมิให้เป็นประโยชน์แก่ราชศัตรู หรือเพื่อเป็นประโยชน์แก่ราชการทหาร ยึด(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 12) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  31. เข้าอาศัย (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 13) • เข้าพักอาศัยที่ซึ่งราชการทหารเห็นจำเป็น และใช้เป็นประโยชน์ในราชการทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  32. เปลี่ยนแปลงสถานที่(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(2)) • สร้างที่มั่น หรือดัดแปลง ภูมิประเทศหรือหมู่บ้าน เมือง สำหรับการต่อสู้ราชศัตรู หรือเตรียมการป้องกันรักษา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  33. - เมื่อการสงคราม หรือรบสู้ เป็นรอง - มีอำนาจ - เผาบ้าน และสิ่งที่จะเป็นกำลังแก่ราชศัตรู เมื่อทหารถอยไปแล้ว - สิ่งที่กีดกันการสู้รบ ทำลายสถานที่(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(1)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  34. หลัก : ศาลพลเรือนคงมีอำนาจตามปกติ ข้อยกเว้น : 1. ผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎฯ ให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เฉพาะคดีอยู่ในอำนาจของศาลอาญาศึก และเป็นคดีตามที่ระบุในบัญชีต่อท้าย 2. ผู้บัญชาการทหารสูงสุดสั่งให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เนื่องจากเห็นว่าเป็นคดีมีเหตุพิเศษ เกี่ยวกับความมั่นคง ความสงบ การดำเนินคดี(มาตรา 7) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  35. ร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้ (มาตรา 16) • ห้ามร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับ ซึ่งอาจเกิดขึ้น เนื่องจากการกระทำตามมาตรา 8 และมาตรา 15 แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

  36. มอบอำนาจให้เจ้ากระทรวง(มาตรา 17) • ในเวลาปกติรมว.กห.มีอำนาจตรากฎกระทรวงขึ้นสำหรับบรรยายข้อความ • ในเวลาสงครามหรือจลาจล ผู้บัญชาการกองทัพไทย หรือรองผู้บัญชาการกองทัพไทย มีอำนาจออกข้อบังคับบรรยายความ เมื่อได้ประกาศกฎกระทรวง หรือข้อบังคับของแม่ทัพในทางราชการแล้ว ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัตินี้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

More Related