1 / 32

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550. เหตุผลในการประกาศใช้.  พระราชบัญญัติส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2521 ใช้บังคับเป็นเวลานาน  สมควรกำหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

Télécharger la présentation

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550

  2. เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2521 ใช้บังคับเป็นเวลานาน  สมควรกำหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  การจัดตั้งศูนย์เด็กและเยาวชนอำเภอ  สภาเด็กและเยาวชน  ให้องค์กรเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาเด็ก

  3. การประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกาศใช้พระราชบัญญัติ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2551 เป็นต้นไป  ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2521

  4. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องบทบัญญัติรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้อง มาตรา 52 : เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญ  มาตรา 80 : รัฐต้องดำเนินนโยบายคุ้มครองเด็กและพัฒนาเยาวชน

  5. บททั่วไป หลักการพัฒนาเด็กและเยาวชน (มาตรา 6) การคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นอันดับแรก  สิทธิในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงสุด  สิทธิในการได้รับการศึกษาที่จัดให้เป็นพิเศษและเหมาะสมกับเด็กพิการ เด็กที่มีข้อจำกัดแห่งการเรียนรู้ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ

  6. บททั่วไป หลักการพัฒนาเด็กและเยาวชน (มาตรา 6) สิทธิในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานสู่เด็ก  สิทธิในการเล่น พักผ่อน เข้าร่วมกิจกรรม การนันทนาการที่เหมาะสม และการมีส่วนร่วมอย่างเสรีในทางวัฒนธรรมและศิลปะ

  7. บททั่วไป แนวทางในการพัฒนาเด็กและเยาวชน (มาตรา 6) ให้มีความผูกพันต่อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัย เคารพสิทธิผู้อื่นและกติกาของสังคม  มีสุขภาพแข็งแรง ป้องกันตนเองจากโรคและสิ่งเสพติด  มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ จริยธรรมและคุณธรรม  มีทักษะและเจตคติที่ดีต่อการทำงาน มีศักดิ์ศรีและภาคภูมิใจในการทำงานสุจริต

  8. แนวทางในการพัฒนาเด็กและเยาวชน (มาตรา 6) บททั่วไป  รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและพัฒนาตนเอง  มีจิตสำนึกการให้การอาสาสมัครและมีส่วนร่วมในการพัฒนา  รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม

  9. บททั่วไป • สิทธิได้รับการจดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนาการยอมรับการ คุ้มครองและโอกาสในการมีส่วนร่วม โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติโดย ไม่เป็นธรรม (มาตรา 7)

  10. บททั่วไป การจัดทำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น โดยคำนึงถึงหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสังคม (มาตรา 8)  การร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนา

  11. บททั่วไป การร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (มาตรา 9)

  12. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ (มาตรา 22 – 24) องค์ประกอบ สมาชิก : เด็กและเยาวชนในอำเภอ  คณะบริหารสภาฯ  ประธานสภา  ผู้บริหารไม่เกิน 15คน  ผู้แทนนักเรียนนักศึกษาระดับมัธยมขึ้นไป  ผู้แทนเด็กไม่สังกัดสถานศึกษา

  13. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ (มาตรา 22 – 24) ที่ปรึกษาคณะบริหารสภาฯ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด  ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ผู้แทนองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน

  14. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ (มาตรา 22 – 24) หน้าที่ ส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการและกิจกรรมต่าง ๆ  จัดกิจกรรมต่าง ๆ  เสนอแนะและให้ความเห็นต่อสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด

  15. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 25 – 27, 31) องค์ประกอบ สมาชิก : ผู้แทนจากคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ ไม่เกิน 5คน จากแต่ละสภาฯ  คณะบริหารสภาฯ  ประธานสภา  ผู้บริหารไม่เกิน 20 คน  สมาชิกสภาฯ จังหวัดคัดเลือกกันเอง

  16. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 25 – 27, 31) ที่ปรึกษาคณะบริหารสภาฯ ผู้ว่าราชการจังหวัด  ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด  ผู้แทนองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนไม่เกิน 5 คน

  17. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 25 – 27, 31) อำนาจหน้าที่ ประสานงานระหว่างสภาฯ อำเภอ และแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ของเด็กและเยาวชน  เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และการเผยแพร่  สนับสนุนสภาฯ อำเภอและสถานศึกษาฯ จัดกิจกรรม  ออกข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

  18. สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด (มาตรา 27 - 31) องค์ประกอบ สมาชิก  สภาผู้แทนนักเรียนนักศึกษา  ระดับมัธยมศึกษาไม่เกิน 20 คน  ระดับอาชีวศึกษาไม่เกิน 20 คน  ระดับอุดมศึกษาไม่เกิน 20 คน  ผู้แทนเด็กไม่สังกัดสถานศึกษา ไม่เกิน 40 คน

  19. สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร (มาตรา 27 - 31) คณะบริหารสภาฯ ประธานสภา ผู้บริหารไม่เกิน 20 คน  สมาชิกสภากรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเอง

  20. สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร (มาตรา 27 - 31) ที่ปรึกษาคณะบริหารสภาฯ  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ผู้แทนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร  ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา  ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา  ผู้แทน สท.  ผู้แทนองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนไม่เกิน 5 คน อำนาจหน้าที่  เช่นเดียวกับสภาฯ จังหวัด

  21. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (มาตรา 32 - 40) องค์ประกอบ สมาชิก  ประธานสภาฯ จังหวัดทุกจังหวัด  ประธานสภาฯ กรุงเทพมหานคร  ผู้แทนเด็กและเยาวชน 38 คน  คณะบริหารสภาฯ  ประธานสภา  ผู้บริหารไม่เกิน 25 คน  สมาชิกสภาฯ แห่งประเทศไทยคัดเลือกกันเอง

  22. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (มาตรา 32 - 40) อำนาจหน้าที่ เป็นศูนย์กลางประสานงาน  ร่วมมือดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  เสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบาย กิจกรรม และเสนอต่อ คณะกรรมการฯ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน  ออกข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

  23. การส่งเสริมบทบาทองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนการส่งเสริมบทบาทองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน การจดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน (มาตรา 41) องค์กรที่จดทะเบียนอาจได้รับเงินอุดหนุน ความช่วยเหลือ หรือการสนับสนุนจากรัฐ (มาตรา 42) การจัดให้มีอาสาสมัคร  การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร  การจัดตั้งหรือดำเนินโครงการ

  24. การส่งเสริมบทบาทองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนการส่งเสริมบทบาทองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน องค์กรที่จดทะเบียนอาจได้รับเงินอุดหนุน ความช่วยเหลือ หรือการสนับสนุนจากรัฐ (มาตรา 42)  การศึกษาวิจัย  การให้ความช่วยเหลือสนับสนุนด้านกฎหมาย การแพทย์ การบำบัดฟื้นฟูและการสงเคราะห์

  25. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (มาตรา 10 - 18) องค์ประกอบ  นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานกรรมการคนที่สอง

  26. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (มาตรา 10 - 18)  กรรมการโดยตำแหน่ง 10 คน  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 5 คน  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 คน  ผู้แทนเด็กและเยาวชนชาย / หญิง 2 คน  ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ เป็นกรรมการและเลขานุการ

  27. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (มาตรา 10 - 18) อำนาจหน้าที่  เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติต่อคณะรัฐมนตรี  กำหนดระเบียบและหลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน  สนับสนุนการจัดสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ  เสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศ

  28. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (มาตรา 6) หน้าที่ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนและดำเนินการที่เกี่ยวข้อง  สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ (มาตรา 8, 9, 19, 20, 40)  ร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชน

  29. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย  สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ อำนาจหน้าที่ จัดทำนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ  กำหนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชน  พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและส่งเสริมสนับสนุนและร่วมมือในการพัฒนา  ศึกษา วิจัย วิเคราะห์ และประเมินผล

  30. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย  สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ  สนับสนุน ส่งเสริมและประสานงานกับหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ และดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง  ดำเนินการจัดงานสมัชชาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ  จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน  ส่งเสริม สนับสนุนการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร

  31. หน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมายหน่วยงานและองค์กรที่รับผิดชอบตามกฎหมาย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (มาตรา 8, 40) ร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นในการจัดทำแผนพัฒนาพัฒนาเด็กและ เยาวชนในระดับท้องถิ่น  ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานกับสภาฯ อำเภอ และสภาฯ จังหวัด

  32. จบการนำเสนอ สวัสดี

More Related