1 / 62

Asst.Prof.Dr. Nanthaphan Chinlumprasert, R.N.

IQA & EQA Indicators Standard criteria of OHEC, ONESQA AU System. By. Asst.Prof.Dr. Nanthaphan Chinlumprasert, R.N. 1. จัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ 1.1 หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ 1.2 คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์

virgil
Télécharger la présentation

Asst.Prof.Dr. Nanthaphan Chinlumprasert, R.N.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. IQA & EQA Indicators Standard criteria of OHEC, ONESQA AU System By Asst.Prof.Dr. Nanthaphan Chinlumprasert, R.N.

  2. 1. จัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ 1.1 หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ 1.2 คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ 3.3 สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน 1.4 ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้อื่น 1.5 อุปกรณ์การศึกษา 1.6 สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา 1.7 การวัดผลการเรียนและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา 1.8 องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถาบันเห็นสมควร แนวปฏิบัติของการประกันคุณภาพภายใน

  3. มาตรฐานด้านการดำเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา 4 ด้าน คือ 1) การผลิตบัณฑิต 2) การวิจัย 3) การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม 4) การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา 1) ด้านกายภาพ 2) ด้านวิชาการ 3) ด้านการเงิน 4) ด้านการบริหารจัดการ ประเภทของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (process) และผลลัพธ์ (Output) การกำหนดค่าน้ำหนักของตัวบ่งชี้ พิจารณาจาก...

  4. IQA Indicators องค์ประกอบ 1ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดำเนินการ (1 Indicator) 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน องค์ประกอบ 2การผลิตบัณฑิต (8 Indicators) 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนการสอนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา

  5. องค์ประกอบ 3กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (2 Indicators) 3.1 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา องค์ประกอบ 4การวิจัย (3 Indicators) 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย

  6. องค์ประกอบ 5การบริหารทางวิชาการแก่สังคม (2 Indicators) 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม องค์ประกอบ 6การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (1 Indicator) 6.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

  7. องค์ประกอบ 7การบริหารและการจัดการ (4 Indicators) 7.1 ภาวะผู้นำของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

  8. องค์ประกอบ 8การเงินและงบประมาณ (1 Indicator) 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ องค์ประกอบ 9ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (1 Indicator) 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

  9. EQA Indicators

  10. EQA ครอบคลุม 4 มาตรฐาน 1. ผลการจัดการศึกษา 2. การบริหารจัดการศึกษา 3. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4. การประกันคุณภาพภายใน

  11. Standard Criteria of ONESQA (18 Indicators) 1. ด้านคุณภาพพัฒนา (4 Indicators) 2. ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (3 Indicators) 3. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม (2 Indicators) ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม (2 Indicators) 5. ด้านการบริการและการพัฒนาสถาบัน (3 Indicators) 6. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน (1 Indicator พื้นฐาน) (2 Indicators อัตลักษณ์) (1 Indicator มาตรการส่งเสริม)

  12. การรับรองมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการรับรองมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม

  13. AUQA Indicators

  14. ตารางสรุปจำนวนองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2553 หมายเหตุ ( )* ตัวบ่งชี้ที่มีความซ้ำซ้อนกับตัวบ่งชี้อื่นและได้นำเข้าไปรวมไว้ในตัวบ่งชี้หลัก

  15. ตารางสรุปค่าน้ำหนัก/ ค่าคะแนน รายองค์ประกอบ ในระบบต่างๆ

  16. โดยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญอยู่ในกลุ่มสถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี (ข) หมายความถึง สถาบันอุดมศึกษาที่ทำหน้าที่ในการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วยงาน ธุรกิจและบุคคลในภูมิภาคเพื่อรองรับการดำรงชีพ สถาบันอาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทด้วยก็ได้

  17. องค์ประกอบ 1แผนกลยุทธ์และแผนการดำเนินการตามปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และอัตลักษณ์ของสถาบัน (3 Indicators) 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (OHEC 1.1) (การจัดทำกลยุทธ์ (MBNQA 2.1) และการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (MBNQA 2.2)) 1.2 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญาปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของสถาบัน (ONESQA 16) 1.3 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน (ONESQA 17) ดูคู่มือหน้า 12-17

  18. องค์ประกอบ 2การผลิตบัณฑิตและคุณภาพบัณฑิต (16 Indicators) 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (OHEC 2.1) 2.2 อาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (OHEC 2.2) 2.3 อาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ (OHEC 2.3) 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (OHEC 2.4) 2.5 หองสมุด อุปกรณการศึกษา และสภาพแวดลอมการเรียนรู (OHEC 2.5)

  19. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (OHEC 2.6) 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต (OHEC 2.7) 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมที่จัดใหกับนักศึกษา (OHEC 2.8) 2.9 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (ONESQA 1) 2.10 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ (ONESQA 2) (ความพึงพอใจด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน (MBNQA 7.1))

  20. 2.11 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ONESQA 3) 2.12 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ONESQA 4) 2.13 การพัฒนาคณาจารย์ (ONESQA 14) 2.14 ความผูกพันกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้เสีย (MBNQA 3.1) 2.15 เสียงสะท้อนของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้เสีย (MBNQA 3.2) 2.16 ความพึงพอใจผลการดำเนินการด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (MBNQA 7.2) ดูคู่มือหน้า 20-50

  21. อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหนงทางวิชาการ Indicator 2.2 เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1. ค่ารอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งผูช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกันที่กำหนดใหเป็นคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไปหรือ 2. ค่าการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งผูช่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ รวมกันเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กำหนดใหเป็น คะแนนเต็ม 5 = รอยละ 12 ขึ้นไป

  22. สูตรการคำนวณ: 1. คำนวณค่ารอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด x 100 รอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ = 2. แปลงค่ารอยละที่คำนวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 รอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ รอยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดใหเป็นคะแนนเต็ม 5 x 5 คะแนนที่ได =

  23. องค์ประกอบ 3กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (2 Indicators) 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร (OHEC 3.1) 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา (OHEC 3.2) ดูคู่มือหน้า 51-54

  24. องค์ประกอบ 4งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (6 Indicators) 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค (OHEC 4.1) 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค (OHEC 4.2) 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย (OHEC 4.3) 4.4 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ONESQA 5) 4.5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (ONESQA 6) 4.6 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (ONESQA 7) ดูคู่มือหน้า 55-72

  25. วิธีการนับ 1. บทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ นับตามปีปฏิทิน 2. นับอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมดรวมผู้ลาศึกษาต่อ 3. ตีพิมพ์หรือเผยแพร่มากกว่า 1 ครั้งให้นับเพียง 1 ผลงาน 4. การนับอาจารย์และนักวิจัยประจำ ทำงาน 9 เดือนขึ้นไป นับ = 1 คน ทำงาน 6-9 เดือน นับ = 0.5 คน ทำงานน้อยกว่า 6 เดือน ไม่นับ = 0 คน 5. การประเมินเงินสนับสนุนงานวิจัยใน Indicator 4.3 ให้นับอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ปฏิบัติจริง ไม่รวมผู้ลาศึกษาต่อ โดยนับตามปีการศึกษา

  26. เกณฑ์ประเมินเงินสนับสนุนในIndicator 4.3 (P.64) โดย: แปลงจำนวนเงินต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยเป็นคะแนน 0-5 จำนวนเงินสนับสนุนทุนวิจัยต่อคนที่ได้คะแนนเต็ม 5** 1. กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนน 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน 2. กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนน 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน 3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนน 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

  27. สูตรการคำนวณ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย *ภายใน & ภายนอกต่อคน จำนวนเงินสนับสนุน จำนวนอาจารย์ & นักวิจัยประจำ = แปลงเป็นค่าคะแนน 0-5 ดังนี้ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยภายในภายนอก/คน * จำนวนเงินสนับสนุนทุนวิจัยที่กำหนดเป็นคะแนนเต็ม 5 ** x 5 คะแนนที่ได้ =

  28. เกณฑ์ประเมินผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพIndicator 4.6 วิธีการคำนวณ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด x 100

  29. องค์ประกอบ 5การบริการทางวิชาการและมาตรการส่งเสริมแกสังคม(5 Indicators) 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม (OHEC 5.1) 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการใหเกิดประโยชนตอสังคม (OHEC 5.2) 5.3 การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (ONESQA 8) 5.4 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (ONESQA 9) 5.5 การชี้นำและ/ หรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ของสถาบัน (ONESQA 18) ดูคู่มือหน้า 73-80

  30. องค์ประกอบ 6การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม(3 Indicators) • 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (OHEC 6.1) • 6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (ONESQA 10) • 6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (ONESQA 11) ดูคู่มือหน้า 81-86

  31. องค์ประกอบ 7การบริหาร การจัดการ และการพัฒนาสถาบัน(12 Indicators) • 7.1 ภาวะผู้นำของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน (OHEC 7.1) (การนำ • องค์การโดยผู้นำระดับสูง (MBNQA 1.1) และธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อ • สังคม (MBNQA 1.2)) • 7.2 ผลลัพธ์ด้านภาวะผู้นำ (MBNQA 7.6) • 7.3 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน (ONESQA 12) • 7.4 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน (ONESQA 13) • 7.5 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (OHEC 7.2)

  32. 7.6 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ (OHEC 7.3) (การวัด • วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์การ (MBNQA 4.1) และ • การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู้ • (MBNQA 4.2)) • 7.7 ระบบบริหารความเสี่ยง (OHEC 7.4) • 7.8 การผูกพันของผู้ปฏิบัติงาน (Workforce Engagement) (MBNQA 5.1)

  33. 7.9 สภาพแวดล้อมในการทำงาน (Workforce Environment) (MBNQA 5.2) • 7.10 การออกแบบระบบงาน (MBNQA 6.1) • 7.11 กระบวนการทำงาน (MBNQA 6.2) • 7.12 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ (MBNQA 7.5) ดูคู่มือหน้า 87-110

  34. ระบบบริหารความเสี่ยงIndicator 7.7 คะแนนการประเมินเท่ากับ 0 เพียงคณะเดียว สถาบันก็จะได้คะแนนการประเมิน 0 ด้วยเช่นกัน ดูคู่มือหน้า 101-102

  35. องค์ประกอบ 8การเงินและงบประมาณ (2 Indicators) 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (OHEC 8.1) 8.2 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณและการเงิน (MBNQA 7.3) ดูคู่มือหน้า 111-114

  36. องค์ประกอบ 9ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (2 Indicators) 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (OHEC 9.1) 9.2 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด (ONESQA 15) ดูคู่มือหน้า 115-120

  37. Indicator 9.2 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด เกณฑ์การประเมิน & วิธีการคำนวณ 1. ระดับสถาบันใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดย สกอ 3 ปีย้อนหลัง (คะแนนเต็ม 5) ประเมินปี 2554 ใช้คะแนนประเมิน 1 ปี คือ 2553 ประเมินปี 2555 ใช้คะแนนประเมิน 2 ปี คือ 2553, 2554 ประเมินปี 2556 ใช้คะแนนประเมิน 3 ปี คือ 2553, 2554, 2555 2. ในระดับคณะวิชาประเมิน IQA โดยสถาบันใช้คะแนนเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา (2550-2552)

  38. รูปแบบเกณฑ์การให้คะแนนรูปแบบเกณฑ์การให้คะแนน ความท้าทายที่พบและข้อแนะนำ

  39. ดำเนินการ = Y ไม่มีการดำเนินการ = N นับจำนวนข้อที่ดำเนินการไปเทียบกับตารางคะแนน 1. นับจำนวนข้อของเกณฑ์มาตรฐานที่ “มีการดำเนินการ” ใช้จำนวนเกณฑ์ตามที่มีกำหนดในคู่มือของ สกอ. และ สมศ. มีการเพิ่มเกณฑ์ขึ้นในระบบ AU โดย แปลงมาจาก MBNQA 2009 - 2010

  40. ความท้าทายที่มักจะเกิดขึ้นกับเกณฑ์ในลักษณะนี้?ความท้าทายที่มักจะเกิดขึ้นกับเกณฑ์ในลักษณะนี้? ดำเนินการแต่ไม่มีหลักฐานยืนยันชัดเจน สิ่งที่ดำเนินการไปก้ำกึ่งว่าจะใช่ หรือ ไม่ใช่ก็ได้ ไม่ได้ดำเนินการ แต่ก็พยายามทบทวนดูว่ามีโครงการใดที่พอจะหยิบมารายงานได้ ไม่แน่ใจว่าสิ่งที่ได้ดำเนินการตรงกับตัวบ่งชี้ใดกันแน่ 1. นับจำนวนข้อของเกณฑ์มาตรฐานที่ “มีการดำเนินการ” ข้อแนะนำทั่วไป • จัดติดตามและจัดเก็บหลักฐาน • บรรจุกิจกรรมที่ตอบสนองตัวบ่งชี้ลงในแผนกลยุทธ์และแผนงานประจำปี • เลือก Focus เรื่องที่มีลำดับความสำคัญสูงไว้ก่อน • ต่อยอดจากสิ่งที่มีอยู่หรือทำอยู่แล้ว • เริ่มสิ่งที่ไม่เกินความสามารถและมีผู้สนใจในเรื่องนั้นๆ • ใช้คู่มือประกอบ + หารือกับหลายๆ คนเพื่อช่วยให้แยกได้ง่ายขึ้นว่าสิ่งที่ดำเนินการไปนั้นเป็นจัดอยู่ในตัวบ่งชี้ใดได้บ้าง

  41. เช่น ร้อยละของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ 2. การนับผลงานเป็นจำนวนร้อยละและนำมาเปรียบเทียบระดับคะแนน คู่มือหน้า 24

  42. คู่มือหน้า 24 ตัวอย่าง 1: แปลงร้อยละของผลงานและนำมาเปรียบเทียบระดับคะแนน คณะศิลปะศาสตร์มีจำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ 15 ท่าน จาก จำนวนอาจารย์ทั้งสิ้น 25 ท่าน 17 ร้อยละของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ = x 100 25 = 68 % = 68 แปลงคะแนนเทียบกับ 5 คะแนนเต็ม = x 5 60 = 5.67

  43. คู่มือหน้า 40 ตัวอย่าง 2: แปลงร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของผลงานและนำมาเปรียบเทียบระดับคะแนน • คณะวิชาแห่งหนึ่งมีผลงานที่ นศ. ปริญญาโทได้รับการตีพิมพ์ ดังนี้ • บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)จำนวน 1 ชิ้น • บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีราย ชื่อวารสารระดับชาติที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน Web site ของสำนักงานฯจำนวน 2 ชิ้น • บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI จำนวน 3 ชิ้น • และคณะวิชาแห่งนี้มีจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโททั้งสิ้น 20 คน

  44. คู่มือหน้า 40

  45. รูปแบบเกณฑ์การให้คะแนนรูปแบบเกณฑ์การให้คะแนน คู่มือหน้า 40 ตัวอย่าง 2: แปลงร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของผลงานและนำมาเปรียบเทียบระดับคะแนน = (1 ชิ้น x 0.125 ) + (2 ชิ้น x 0.50) + (3 ชิ้น x 1.00) = (0.125 ) + (1.00) + (3.00) = 4.125 4.125 x 100 20 20 คน 20.62

  46. รูปแบบเกณฑ์การให้คะแนนรูปแบบเกณฑ์การให้คะแนน คู่มือหน้า 40 สมศ. กำหนดให้ร้อยละ 25* เท่ากับ 5 คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา (*ปรับแก้ไขจากการประชุมวันที่ 15 ก.พ. 54 โดย สมศ.) 20.62

  47. ความท้าทายที่มักจะเกิดขึ้นกับเกณฑ์ในลักษณะนี้?ความท้าทายที่มักจะเกิดขึ้นกับเกณฑ์ในลักษณะนี้? ผลงานวิชาการที่รายงานมาไม่ตรงกับระดับคุณภาพที่กำหนด อาจมีความไม่แน่ใจว่าผลงานนั้นๆ ควรอยู่ใน “ระดับคุณภาพงานวิจัย” ใดกันแน่ มีตัวเลขจำนวนผลงานวิชาการแต่ตรวจสอบย้อนกลับไปแล้วไม่พบหลักฐานหรือตัวเลขข้อมูลไม่ตรงกัน 2. การนับผลงานเป็นจำนวนร้อยละและการมาเปรียบเทียบระดับคะแนน

  48. 2. การนับผลงานเป็นจำนวนร้อยละและการมาเปรียบเทียบระดับคะแนน ข้อแนะนำทั่วไป • เพิ่มกิจกรรมที่สร้างโอกาสหรือแรงจูงใจในการสร้างสรรค์ผลงานเพิ่มขึ้น • ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลต้องมีความรู้พื้นฐานในการจำแนกประเภทผลงานทางวิชาการ • ตรวจสอบความถูกต้องประเภทผลงานวิชาการโดยอ้างอิงเอกสารคู่มือประกันคุณภาพหรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่น่าเชื่อถือ • มอบหมายให้มีการติดตามผลงานอย่างสม่ำเสมอ

More Related