1 / 18

บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมี ระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดี เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญ. หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา มีคน และทีมงานที่เข้มแข็ง ( ทีม SRRT อำเภอ และตำบล)

vita
Télécharger la présentation

บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาท SRRT เครือข่ายระดับตำบล เพื่อสร้างอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

  2. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนมีระบบและการทำงานระบาดวิทยาที่ดีเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่สำคัญ หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา • มีคน และทีมงานที่เข้มแข็ง (ทีม SRRT อำเภอ และตำบล) • ใช้ระบาดวิทยาเป็นรากฐานในการทำงานสาธารณสุข • ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการควบคุมโรค ส่งเสิมสุขภาพ • สร้างเครือข่าย เชื่อมโยง ในระดับต่างๆ • ให้มีคุณภาพ มาตรฐานในระดับเดียวกัน และมีการยกระดับต่อเนื่อง

  3. เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT Province District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข

  4. เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT 68 ทีมในกรุงเทพ Province 9,810 ทีมใน 2555 District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข

  5. เครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว บทบาทหน้าที่ เฝ้าระวังโรค/ตรวจจับความผิดปกติ สอบสวนควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบล การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่เพื่อค้นหาความผิดปกติ ระดับหมู่บ้าน

  6. สมาชิกเครือข่ายระดับตำบลสมาชิกเครือข่ายระดับตำบล • เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. (แห่งละ 1 คน) • อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ตำบลละ 3 คน) • บุคลากร อปท. ได้แก่ อบต. หรือ เทศบาลตำบล (1-2 คน) • กลุ่มอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ปศุสัตว์ตำบล ครู

  7. เป้าหมายของการพัฒนาเครือข่ายSRRT ตำบล 3 ร อ • รู้เร็ว (และตรวจสอบ) • รายงานเร็ว (แจ้งข่าว) • ควบคุมเร็ว (จำกัดการะบาด)

  8. SRRT ตำบล เข้าใจหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์และทำงานกับเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อแจ้งข่าวเหตุการณ์ผิดปกติ รู้จักชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติทางด้านสาธารณสุข สามารถตรวจสอบข่าวเบื้องต้นที่ได้รับแจ้งจากแหล่งข่าวและ ดำเนินการตอบสนองได้เหมาะสม มีทักษะการทำงานจริงในการควบคุมโรค

  9. เหตุการณ์ที่มักจะพบ ทราบผล การตรวจ วันที่รายงานโรค เริ่มมีผู้ป่วย รายแรก ดำเนินมาตรการ ควบคุมโรค วันที่ผู้ป่วย มาพบแพทย์ ส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ จำนวน ผู้ป่วย ช่วงเวลาที่มีโอกาส ในการควบคุมโรค จำนวนวัน

  10. การรายงานและดำเนินการเร็วการรายงานและดำเนินการเร็ว ดำเนินมาตรการ ควบคุมโรค เริ่มมีผู้ป่วย รายแรก จำนวนผู้ป่วยที่ป้องกันได้ จำนวน ผู้ป่วย จำนวนวัน

  11. สรุปการทำงานร่วมกันในเครือข่ายสรุปการทำงานร่วมกันในเครือข่าย สอบสวน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น ตรวจสอบ แจ้งข่าว เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน

  12. SRRT เครือข่ายระดับตำบล กลุ่ม วัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง • รู้เร็ว • รายงานเร็ว • ควบคุมเร็ว • อสม/เครือข่าย • จนท. รพ.สต. • SRRT อำเภอ • แจ้งข่าว • ตรวจสอบ • สอบสวน 12

  13. การเฝ้าระวัง 2 ระบบ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ • 1. การเฝ้าระวังโดยรายงานผู้ป่วย • 2. การเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ สอ./รพ.สต. • เหตุการณ์ผิดปกติเกี่ยวกับสาธารณสุข รายคน รายเหตุการณ์ เก็บวิเคราะห์แปลผล แจ้งตรวจสอบรายงาน สัญญาณภัย ประเมิน และสอบสวน มีความสำคัญสาธารณสุข กระจายเผยแพร่ ควบคุมโรค

  14. หลักพื้นฐานการพัฒนา SRRT ระดับพื้นที่ เพื่อสนับสนุน อำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค

  15. การบูรณาการอำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค เป็นบทบาทภารกิจ ด้านสาธารณสุขและด้านสังคมของพื้นที่สอดคล้องกับการกระจายอำนาจ และการปรับโครงสร้างการทำงานระดับพื้นที่ • ทีม SRRT ระดับตำบล เป็นส่วนหนึ่งของ ทีมบูรณาการอำเภอเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกันโรค ซึ่งประกอบด้วยทีมงาน และการประสานงานร่วมกับ หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ และภาคีประชาชน • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบต เทศบาล เทศบาลตำบล มีภารกิจการเฝ้าระวังป้องกันโรค ภัยสุขภาพ ด้านสาธารณสุขและด้านสังคม  เป็นผู้บริหารจัดการ ทีมท้องถิ่นเข้มแข็งเฝ้าระวังป้องกันโรคและ SRRT ตำบลด้วย

  16. SRRT ระดับตำบล มีศักยภาพหลักด้านการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพเชิงเหตุการณ์ เน้น Event based surveillance และการรายงานโรค  เพื่อการประสานการควบคุมโรค รวดเร็ว โดยมี SRRT ระดับอำเภอและ SRRT จังหวัด เป็นพี่เลี้ยงด้านการสอบสวนโรค • SRRT อำเภอ และจังหวัด มีบทบาทเป็นพี่เลี้ยงและผู้สนับสนุน  โดยมี สคร และสำนักระบาด (เป็นหน่วยงานต้นน้ำ) ให้การสนับสนุนทางวิชาการและการสนับสนุนปฏิบัติการตามความจำเป็น • มาตรฐานความเข้มแข็งการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค ระดับพื้นที่ ใช้แนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับหลัก มาตรฐานกฎอนามัยสากล International Health Regulation

  17. Thank you

More Related