1 / 27

แผนการชักตัวอย่างตามมาตรฐาน

แผนการชักตัวอย่างตามมาตรฐาน. MIL-STD-105E. MIL-STD-105E. พ.ศ. 2485 แผนชักตัวอย่างระดับ AQL ใช้ในกองทัพบก USA เป็นครั้งแรกช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2488 ม.โคลัมเบีย พัฒนาแผนเชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิงใช้ในกองทัพเรือ

vivian
Télécharger la présentation

แผนการชักตัวอย่างตามมาตรฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการชักตัวอย่างตามมาตรฐานแผนการชักตัวอย่างตามมาตรฐาน MIL-STD-105E

  2. MIL-STD-105E พ.ศ. 2485 แผนชักตัวอย่างระดับ AQL ใช้ในกองทัพบก USA เป็นครั้งแรกช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2488 ม.โคลัมเบีย พัฒนาแผนเชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิงใช้ในกองทัพเรือ พ.ศ. 2490 กลาโหมสหรัฐ นำสองแผนมาผสมกันเป็น JAN-STD-105 (Joint Army Navy Standard 105) พ.ศ. 2493 พัฒนาเป็น MIL-STD-105A

  3. MIL-STD-105E พ.ศ. 2501 พัฒนาเป็น MIL-STD-105B พ.ศ. 2504 พัฒนาเป็น MIL-STD-105C พ.ศ. 2506 พัฒนาเป็น MIL-STD-105D พ.ศ. 2532 พัฒนาเป็น MIL-STD-105E พ.ศ. 2536 พัฒนาเป็น ANSI/ASQC Z1.4

  4. MIL-STD-105E ขอบเขตแผนการชักตัวอย่าง • ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป • วัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนประกอบ • การปฏิบัติการและการบริการ • สินค้าระหว่างผลิต • สินค้ารอการส่งมอบ • การบำรุงรักษา • ข้อมูลหรือบันทึก • วิธีการที่ใช้ในการบริหาร

  5. MIL-STD-105E 2. ระบบการชักตัวอย่าง • เป็นระบบการตัดสินใจด้วย AQL • ประกอบด้วยแบบแผนทั้งหมด 16 แบบแผน A-R เว้น I และ O • กฏการสับเปลี่ยน(ปกติ เคร่งครัด และ ผ่อนคลาย) • แผนการชักตัวอย่างประกอบด้วย แผนเชิงเดี่ยว แผนเชิงคู่ และแบบหลายเชิง • ระดับการตรวจสอบแบ่งเป็นระดับธรรมดา(G I G II G III) และระดับพิเศษ(S1 S2 S3 S4)

  6. MIL-STD-105E กฏการสับเปลี่ยน

  7. MIL-STD-105E ขั้นตอนในการใช้งาน MIL-STD-105E 1. เลือก AQL 2. เลือก Inspection level 3.เลือก Lot size 4. หา Code อักษร ของ sample นั้นๆ 5. เลือกชนิดของ sample plan 6.เลือกใช้ตาราง และ ระดับความเข้มข้นในการตรวจสอบให้เหมาะสมกับงาน

  8. มาลองดู ถ้ามีสินค้าที่ต้องการสุ่มเพื่อตรวจสอบ มีขนาดทั้งหมด 1000 ชิ้น ต้องทำแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ อย่างไร

  9. Acceptance Sampling Variable Sampling Plan

  10. แผนการชักตัวอย่างแบบแปรผันแผนการชักตัวอย่างแบบแปรผัน ใช้กับข้อมูลที่เป็นแบบต่อเนื่อง และมีการแจกแจงทางสถิติ ที่มีค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  11. ประโยชน์ของ Variable Acceptance Sampling 1 ในระดับความน่าเชื่อถือเดียวกันจะใช้จำนวนตัวอย่างน้อยกว่า 2 ข้อมูลจากการวัดจะบอกถึงแนวโน้มในการบอกความสำคัญของประวัติคุณภาพในการยอมรับหรือปฏิเสธรุ่น 3 ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการวัดมีค่าน้อยกว่า

  12. ข้อเสีย ของ Variable Acceptance Sampling 1. ต้องทำแผนการสุ่ม ในทุก คุณลักษณะที่ทำการตรวจสอบ 2. จะต้องมีสมมุติฐานทางสถิติ ถ้าการแจกแจงไม่สอดคล้องจะทำให้คลาดเคลื่อน 3. รุ่นอาจถูกปฏิเสธแม้จะไม่มีของเสีย

  13. สมมุติฐานใช้การแจกแจงปกติสมมุติฐานใช้การแจกแจงปกติ แผนการชักตัวอย่างแบบแปรผันมี ไว้เพื่อ 1 ใช้เพื่อควบคุมพารามิเตอร์ของกระบวนการ 2 ใช้ควบคุมของเสียคิดเป็น ร้อยละ

  14. การออกแบบแผนการชักตัวอย่างเชิงเดียวการออกแบบแผนการชักตัวอย่างเชิงเดียว ต้องกำหนดค่า 4 ค่าคือ ค่าเฉลี่ยของคุณลักษณะที่จะทำให้ความน่าจะเป็นในการยอมรับมีค่าสูง ค่าเฉลี่ยของคุณลักษณะที่จะทำให้ความน่าจะเป็นในการยอมรับมีค่าต่ำ • คือ ความน่าจะเป็นในการปฏิเสธรุ่นที่ดี  คือ ความน่าจะเป็นในการยอมรับรุ่นที่ไม่ดี

  15. คำนวณหาค่า Z1ที่มีพ.ท. ใต้โค้ง = (1-) และ Z2ที่มีพ.ท. ใต้โค้ง =

  16. ตัวอย่าง เหล็กมีการกำหนดแรงดึงที่ 10000 psi. จะยอมรับที่ 0.95 และที่ แรงดึง 9950 psi. จะยอมรับที่ 0.1 ถ้า =100 จงออกแบบแผนการสุ่ม เฉลย Z1= 1.645 Z2= -1.282 n = 34.27 Xa =9972

  17. แผนการชักตัวอย่างเพื่อประมาณของเสียคิดเป็นร้อยละแผนการชักตัวอย่างเพื่อประมาณของเสียคิดเป็นร้อยละ • ต้องมีหน่วยวัดแบบต่อเนื่อง • ต้องมีการแจกแจงปกติ • ต้องรู้ค่าความแปรปรวนของกระบวนการ

  18. แผนการสุ่มเพื่อประมาณร้อยละของเสียมี 2 แบบคือ แบบ K สุ่มตัวอย่าง วัดค่า คำนวณ ค่าเฉลี่ย ZLSL/ZUSLทำการเทียบกับค่าวิกฤต K (ถ้า ZLSLหรือ ZUSL>= K ยอมรับรุ่น) แบบ M คล้ายแบบ K แต่จะมีการคำนวณร้อยละของเสีย สุ่มตัวอย่าง วัดค่า คำนวณ ค่าเฉลี่ย QLSL / QUSLทำการเทียบกับค่าวิกฤต M

  19. แผนการสุ่มชักตัวอย่างแบบ K

  20. ถ้าโรงงานผลิตน้ำอัดลม ต้องการกระป๋องที่ทดแรงดันได้อย่างน้อย 170 psi กระป๋องที่ทนแรงดันได้ไม่ถึง 170 psi ถือเป็นกระป๋องเสีย ถ้าของเสียมีสัดส่วน 0.01 จะยอมรับรุ่นที่ ค.น.ป. 95% แต่ถ้าสัดส่วนของเสียมีมากกว่า 0.1 จะปฏิเสธรุ่นที่ ค.น.ป. 90% P1 = 0.01 p2 = 0.1  = 0.05  = 0.1 Z1 = 2.327 Z2 = 1.282 Z = 1.645 Z = 1.282

  21. การสร้างแผนการยอมรับแบบแปลผันโดยใช้ Nomograph ใช้เพื่อหาค่า n และ k เมื่อกำหนด ค่า ,,p1,p2 สามารถใช้ได้ทั้งกรณีที่รู้และไม่รู้ s ถ้ารู้ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานให้ลากเส้นตั้งฉาก ถ้าไม่รู้ ให้อ่านตามเส้นกราฟ

  22. ตัวอย่าง กำหนดให้  = 0.05 p1=0.01  = 0.1 p2=0.1 จงหาค่า n และ k สำหรับแผนการสุ่มแบบแปรผันโดยใช้ Nomograph n=20 k=1.72 ไม่ทราบ σ n=8 k=1.72 ทราบ 

  23. ตัวอย่าง กำหนดให้  = 0.1 p1=0.02  = 0.05 p2=0.1 LSL = 0.7 จงหาค่า n และ k สำหรับแผนการสุ่มแบบแปรผันโดยใช้ Nomograph n = 35 k = 1.7 ถ้า คำนวณค่าเฉลี่ย เป็น 0.73 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.0105 จะยอมรับหรือ ปฏิเสธ ZLSL > k แสดงว่ายอมรับ Lot

  24. การใช้ตาราง MIL-STD-414 (ANSI/ASQC Z1.9) ตารางนี้มีสมมุติฐานว่าเป็นการแจกแจงปกติ ดังนั้นต้องมีการทดสอบข้อมูลก่อนว่าเป็นการแจกแจงปกติ การเลือกความเข้มงวด และ ระดับการตรวจสอบ เหมือนกันกับ MIL-STD-105E การสุ่มเชิงเดี่ยวใช้ได้ทั้งแบบ K และ M แต่การสุ่มเชิงคู่ใช้แบบ M เท่านั้น

More Related