1 / 66

โครงการวิจัยย่อยที่ 3 ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน

แผนงานวิจัย ระบบเตือนภัยและการมีส่วนร่วมของชุมชนเครือข่าย ลุ่มน้ำน่านตอนบนเพื่อการป้องกันอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม. โครงการวิจัยย่อยที่ 3 ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน A Flash Flood Watch and Warning Systems. นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรน้ำ

waylon
Télécharger la présentation

โครงการวิจัยย่อยที่ 3 ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนงานวิจัย ระบบเตือนภัยและการมีส่วนร่วมของชุมชนเครือข่าย ลุ่มน้ำน่านตอนบนเพื่อการป้องกันอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม โครงการวิจัยย่อยที่ 3 ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน A Flash Flood Watch and Warning Systems นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาปริมาณน้ำฝน และวิเคราะห์การแพร่กระจายของฝนในพื้นที่ศึกษา • เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลากในพื้นที่ • เพื่อสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน

  3. ขอบเขตการศึกษา • พื้นที่ศึกษา : เลือกพื้นที่อำเภอเชียงกลาง ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบนเป็นพื้นที่นำร่อง สำหรับการศึกษาการเฝ้าระวังและการเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน • ขอบเขตการวิจัย : ระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันโดยใช้ข้อมูลปริมาณฝนรายวัน

  4. สภาพทั่วไปของพื้นที่ศึกษาสภาพทั่วไปของพื้นที่ศึกษา ห้วยน้ำเปือ น้ำกอน แม่น้ำน่าน

  5. การศึกษาพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลันการศึกษาพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลัน • พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลันของอำเภอเชียงกลาง • สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดน่าน • ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 จังหวัดพิษณุโลก • ประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน • กรมทรัพยากรน้ำ • แบบสอบถามของโครงการวิจัยย่อยที่ 4 • การศึกษาและสำรวจภาคสนาม

  6. พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลันพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลัน • 26 หมู่บ้านในพื้นที่ 5 ตำบล ของอำเภอเชียงกลาง

  7. พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลันพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมฉับพลัน

  8. แม่น้ำน่าน บ.เด่นธารา บ.ดอกแก้ว บ.หัวน้ำ บ.น้ำอ้อ ห้วยเปือ บ.สบกอน บ.ห้วยพ่าน บ.ดู่ บ.งิ้ว บ.สันทนา บ.ห้วยเลื่อน อ.เชียงกลาง บ.พญาแก้ว บ.น้ำมีด บ.ม่วง บ.ส้อ บ.สบเปือ น้ำกอน บ.เด่นพัฒนา บ.หนองผุก บ.ชาววา บ.วังทอง บ.วังก้า บ.ภูแหน บ.ไฮหลวง บ.คอนแท่น บ.เหล่า บ.ใหม่วังเคียน บ.อ้อ บ.ดู่ใต้ แม่น้ำน่าน บ.ตี๊ด บ.ตี๊ดใหม่

  9. สภาพน้ำท่วมฉับพลันของอำเภอเชียงกลางสภาพน้ำท่วมฉับพลันของอำเภอเชียงกลาง

  10. พื้นที่รับน้ำฝน 01 ต้นน้ำแม่น้ำน่านจนถึงจุดบรรจบห้วยน้ำเปือ 02 ต้นน้ำห้วยน้ำเปือจนถึงบริเวณหมู่บ้านหัวน้ำ 03 ต้นน้ำห้วยน้ำกอนจนถึงบริเวณหมู่บ้านพญาแก้ว

  11. ระดับพื้นดิน (ม.รทก.) 150-250 250-350 350-450 450-550 550-650 650-850 850-1350 1350-2160 01 01 ต้นน้ำแม่น้ำน่านจนถึงจุดบรรจบห้วยน้ำเปือ พื้นที่รับน้ำฝน 1,263 ตร.กม. ความยาวลำน้ำหลัก 21.8 กม. ความลาดชันเฉลี่ย 1:278 ห้วยน้ำอ้อ บ.สันทนา บ.วังว้า ห้วยน้ำเปือ บ.น้ำมืด บ.ห้วยเลื่อน บ.นาหนุน บ.ดอนสบเปือ บ.ป่าแดง บ.รัชดา บ.เด่นพัฒนา บ.หนองแดง แม่น้ำน่าน บ.หนองผุก บ.สบกอน บ.ชาววา

  12. ระดับพื้นดิน (ม.รทก.) 150-250 250-350 350-450 450-550 550-650 650-850 850-1350 1350-2160 02 ต้นน้ำห้วยน้ำเปือจนถึงบริเวณหมู่บ้านหัวน้ำ พื้นที่รับน้ำฝน 37 ตร.กม. ความยาวลำน้ำหลัก 5.5 กม. ความลาดชันเฉลี่ย 1:25 บ.หัวน้ำ บ.ดอนแก้ว ห้วยน้ำเปือย บ.พวงพยอม บ.พร้าว บ.เด่นธารา บ.กลาง

  13. ระดับพื้นดิน (ม.รทก.) 150-250 250-350 350-450 450-550 550-650 650-850 850-1350 1350-2160 03 ต้นน้ำห้วยน้ำกอนจนถึงบริเวณหมู่บ้านพญาแก้ว พื้นที่รับน้ำฝน 204 ตร.กม. ความยาวลำน้ำหลัก 10.1 กม. ความลาดชันเฉลี่ย 1:39 บ.ดู่ บ.งิ้ว บ.พญาแก้ว บ.ม่วง บ.พูล น้ำกอน

  14. วิธีการศึกษา

  15. วิธีการศึกษา (ต่อ)

  16. การศึกษาปริมาณน้ำฝน การแพร่กระจายของปริมาณฝนเชิงพื้นที่

  17. การศึกษาปริมาณน้ำฝน การแพร่กระจายของปริมาณฝนเชิงพื้นที่ คำนวณค่าการแพร่กระจายของปริมาณฝนเชิงพื้นที่ในแต่ละพื้นที่รับน้ำฝนทั้ง 3 แห่ง โดยใช้วิธีเฉลี่ยธีเอสเซ่น (Thiessen Average)

  18. การศึกษาปริมาณน้ำฝน การแพร่กระจายของปริมาณฝนเชิงพื้นที่ ปริมาณฝนสูงสุด 24 ชั่วโมงในแต่ละปี (30 ปี) สำหรับพื้นที่รับน้ำฝนของอำเภอเชียงกลาง

  19. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝนการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝน ประกอบด้วยขั้นตอนการคำนวณ ดังนี้ - การวิเคราะห์กราฟหนึ่งหน่วยน้ำท่า - การวิเคราะห์พายุฝน 24 ชั่วโมง - การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดของพื้นที่รับน้ำฝน 1. การวิเคราะห์กราฟหนึ่งหน่วยน้ำท่า พารามิเตอร์ลุ่มน้ำ-ลำน้ำ และพารามิเตอร์กราฟหนึ่งหน่วยน้ำท่าสำหรับพื้นที่รับน้ำฝน

  20. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝนการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝน 2. การวิเคราะห์พายุฝน 24 ชั่วโมง โดยใช้ค่าเปอร์เซ็นต์การแพร่กระจายของปริมาณฝน 24 ชั่วโมง

  21. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝนการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝน 3. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดของพื้นที่รับน้ำฝน ด้วยวิธีเทคนิคกราฟหนึ่งหน่วยน้ำท่า ได้ใช้แบบจำลอง HEC-HMS (Hydrologic Model System) ซึ่งพัฒนาโดย US Army Corps of Engineers ประเทศสหรัฐอเมริกา ช่วยในการวิเคราะห์ การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดของพื้นที่รับน้ำฝนสำหรับอำเภอเชียงกลางจะประกาอบด้วย • การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดในแต่ละปี • การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดที่รอบปีของการเกิดซ้ำต่าง ๆ

  22. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝนการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝน 3. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดของพื้นที่รับน้ำฝน ผลการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดในแต่ละปี

  23. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝนการคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดจากข้อมูลพายุฝน 3. การคำนวณกราฟน้ำหลากสูงสุดของพื้นที่รับน้ำฝน

  24. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลาก โดยการวิเคราะห์ถดถอยเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำหลากสูงสุดในแต่ละปี (QP) และปริมาณฝนสูงสุด 24 ชั่วโมง (R24hr) ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี จำนวน 30 ปี โดยทำการแยกความสัมพันธ์ออกเป็นแต่ละพื้นที่รับน้ำฝนทั้ง 3 พื้นที่ ซึ่งสมการแสดงความสัมพันธ์กำหนดให้มีรูปแบบดังนี้ QP = a R24hr + b เมื่อ QP=ปริมาณน้ำหลากสูงสุด, ลบ.ม.ต่อวินาที R24hr=ปริมาณฝนสูงสุด 24 ชั่วโมง, มม. a และ b =เป็นค่าสัมประสิทธิ์

  25. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลาก (01) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำแม่น้ำน่านจนถึงจุดบรรจบห้วยน้ำเปือ

  26. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลาก (02) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำห้วยน้ำเปือจนถึงบริเวณหมู่บ้านหัวน้ำ

  27. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลาก (03) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำห้วยน้ำกอนจนถึงบริเวณหมู่บ้านพญาแก้ว

  28. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) API หรือ Antecedent Precipitation Index เป็นค่าดัชนีที่ใช้ชี้วัดปริมาณความชื้นที่มีในดิน โดยเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการสะสมของน้ำฝนที่ตกลงมา น้ำในดินที่ระเหยกลับขึ้นไปในอากาศ และน้ำในดินที่ระบายให้กับลำธารทั้งทางผิวดินและใต้ผิวดิน API(t)=(API(t-1)xK(t-1)) +P(t) API(t)= ค่าดัชนีความชื้นที่มีอยู่ในดินของวันนี้, มม. API(t-1)= ค่าดัชนีความชื้นที่มีอยู่ในดินของวันเมื่อวานนี้, มม. P(t)= ปริมาณฝนที่ตกวันนี้, มม. K(t-1)= อัตราการลดลงของความชื้นในดินวันก่อนหน้า

  29. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) K(t)=exp(-E(t)/W(m)) E(t)= ค่าการคายระเหยของน้ำวันที่ t, มม. W(m)= เป็นค่าสูงสุดของปริมาณน้ำในดินที่เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการคายระเหยน้ำ หรือ maximum soil moisture available for evaporation ของวันที่ t, มม. W(m)=(WHC/100)(BDx100) WHC= ค่าความสามารถในการอุ้มน้ำของดิน, เปอร์เซ็นต์ BD= ค่าความหนาแน่นของดิน, กรัม/ลบ.ซม.

  30. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) และปริมาณน้ำฝน 1.1 คำนวณค่าปริมาณการคายระเหยน้ำ: ด้วยวิธี Modified Penman

  31. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) และปริมาณน้ำฝน 1.2 คำนวณค่าสูงสุดของปริมาณน้ำในดินที่เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการคายระเหยน้ำ (W(m)) มีค่าเท่ากับ 19.89 มิลลิเมตร 1.3 คำนวณอัตราส่วนการลดของปริมาณน้ำในดิน (K)

  32. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) 2. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) วิกฤต ทำการวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการความสามารถในการเก็บกักน้ำได้สูงสุดจนดินอิ่มตัว ซึ่งจะคำนึงถึงปัจจัยความลึกของดิน และเปอร์เซ็นต์ความชื้นในดินเมื่อดินอิ่มตัว คือ การหาปริมาณน้ำที่ดินสามารถรองรับได้สูงสุด ซึ่งเมื่อเกินความสามารถนี้จะเกิดน้ำไหลบ่าหน้าดิน ดังสมการ APIวิกฤต=(เปอร์เซ็นต์ความชื้นในดินเมื่ออิ่มตัวด้วยน้ำ) x(ความลึกของดิน) ค่า API วิกฤต จะพิจารณาตามความลึกของชั้นดินตั้งแต่ 0-15, 15-30, 30-50 เซนติเมตร จากนั้นนำค่า API ของแต่ละชั้นความลึกมาบวกรวมกัน

  33. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) 2. การวิเคราะห์ค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) วิกฤต

  34. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน เป็นการสร้างเกณฑ์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยได้รับทราบถึงสถานการณ์ และขั้นตอนการปฏิบัติก่อนการเกิดภัยน้ำท่วมฉับพลันดินถล่ม เกณฑ์การเตือนภัย ประกอบ - เกณฑ์การเตือนภัยจากข้อมูลปริมาณฝนรายวันโดยตรง - เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) ซึ่งคำนวณได้จากค่าปริมาณฝนรายวัน และ - เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) ซึ่งคำนวณได้จากปริมาณฝนสูงสุด 24 ชั่วโมง

  35. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 1. เกณฑ์การเตือนภัยจากข้อมูลปริมาณฝนรายวัน ได้ใช้เกณฑ์จากโครงการเครือข่ายอาสาสมัครเตือนภัยดินถล่ม “มิเตอร์เตือนภัย” กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  36. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 2. เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าดัชนีความชุ่มชื้นในดิน (API) ได้ใช้ค่า API วิกฤต ของพื้นที่เสี่ยงภัยในเขตอำเภอเชียงกลาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 162.28 มิลลิเมตร ให้เป็นค่าระดับการเสี่ยงภัยสูง และลดระดับความเสี่ยงลงตามค่า API ที่ลดลง โดยพิจารณาประกอบกับค่า API ที่เคยเกิดขึ้นในปีที่เกิดน้ำท่วมในอดีต ซึ่งเกณฑ์การเตือนภัยจากค่า API มีดังนี้

  37. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 2. เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับปริมาณน้ำหลาก สำหรับพื้นที่รับน้ำฝน 3 พื้นที่ของอำเภอเชียงกลาง เพื่อคำนวณหาค่า QP จากข้อมูลปริมาณฝน 1 วัน (สะสม 24 ชั่วโมง) จากนั้นพิจารณาข้อมูลสภาพน้ำท่วมที่เคยเกิดขึ้นในอดีตของพื้นที่อำเภอเชียงกลาง เพื่อตรวจสอบว่าปริมาณน้ำหลากสูงสุดที่เกิดขึ้นในอดีตปีนั้น ๆ เป็นเท่าไหร่ แล้วจึงนำสภาพความรุนแรงที่เคยเกิดขึ้นในอดีตมาจัดทำเป็นเกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) โดยปีที่เคยเกิดน้ำท่วมรุนแรงในอดีตของอำเภอเชียงกลาง ได้แก่ ปี 2524253625382543 และปี 2549 เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) แยกตามพื้นที่ มีดังนี้

  38. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 2. เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) พื้นที่ (01) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำแม่น้ำน่านจนถึงจุดบรรจบห้วยน้ำเปือ

  39. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 2. เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) พื้นที่ (02) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำห้วยน้ำเปือจนถึงบริเวณหมู่บ้านหัวน้ำ

  40. การสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝนการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันจากข้อมูลปริมาณน้ำฝน 2. เกณฑ์การเตือนภัยจากค่าปริมาณน้ำหลากสูงสุด (QP) พื้นที่ (03) พื้นที่รับน้ำฝนตั้งแต่ต้นน้ำห้วยน้ำกอนจนถึงบริเวณหมู่บ้านพญาแก้ว

  41. การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับประชาชนทั่วไป นักเรียน หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายประชาชน ได้ใช้ในการเตือนภัยน้ำป่าดินถล่มในพื้นที่เสี่ยงภัยของอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน โดยใช้เพียงการป้อนข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายวันเข้าไปในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายวันของพื้นที่อำเภอเชียงกลาง ทางเครือข่ายประชาชนสามารถรวบรวมได้จาก มิเตอร์เตือนภัย (จากโครงการเครือข่ายอาสาสมัครเตือนภัยดินถล่ม) ซึ่งทำการวัดปริมาณฝนรายวันในพื้นที่หมู่บ้านต่าง ๆ ของอำเภอเชียงกลางอยู่แล้ว หรือจากสถานีของกรมอุตุนิยมวิทยาซึ่งตั้งอยู่ที่ว่าการอำเภอเชียงกลาง

  42. หลักการทำงานของโปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่มหลักการทำงานของโปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม

  43. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  44. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  45. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  46. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  47. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  48. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  49. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

  50. โปรแกรมเพื่อการเตือนอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม สำหรับพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน

More Related