1 / 54

สังคมศึกษา จัดทำโดย ด.ญ. ณัฐ์ณิชชา ด้วงนอก เลขที่ 23 ด.ญ. วรรณรดา รักลาย เลขที่ 37 เสนอ

สังคมศึกษา จัดทำโดย ด.ญ. ณัฐ์ณิชชา ด้วงนอก เลขที่ 23 ด.ญ. วรรณรดา รักลาย เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ. Next. เอเชีย. อุปสงค์และอุปทาน. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์. วันอนุรักษ์มรดกไทย. แบบทดสอบ.

Télécharger la présentation

สังคมศึกษา จัดทำโดย ด.ญ. ณัฐ์ณิชชา ด้วงนอก เลขที่ 23 ด.ญ. วรรณรดา รักลาย เลขที่ 37 เสนอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สังคมศึกษา จัดทำโดย ด.ญ. ณัฐ์ณิชชา ด้วงนอก เลขที่ 23 ด.ญ. วรรณรดา รักลาย เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ Next

  2. เอเชีย อุปสงค์และอุปทาน เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ วันอนุรักษ์มรดกไทย แบบทดสอบ

  3. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้       สภาพแวดล้อมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ1. ทำเลที่ตั้ง       เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในบริเวณละติจูดที่ 10 องศาใต้ ถึง ละติจูดที่ 28 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 92 องศาตะวันออก ถึง 140 องศาตะวัน ออก เป็นภูมิภาคที่ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศที่อยู่ในภูมิภาคนี้ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และติมอร์ตะวันออก Next Back

  4. 2. ลักษณะภูมิประเทศ       ลักษณะภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ( ตะวันตก ) และส่วนที่เป็นเกาะ ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย ( ตะวันออก ) และ ติมอร์ตะวันออก Back Next

  5.  หมายเหตุ  ประเทศมาเลเซียแบ่งออกเป็น 2 ส่วน • 1. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ มีเทือกเขาสำคัญ ได้แก่ เทือกเขาอาระกันโยมา อยู่ทางทิศตะวันตกของพม่า และเทือกเขาเปกุโยมา ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาอาระกันโยมา เทือกเขาตะนาวศรีกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับพม่า นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขาแดนลาว และเทือกเขาอันนัมในเวียดนามบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำที่สำคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวิน ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง Next Back

  6. 2. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ เป็นบริเวณที่มีภูเขาไฟเป็นจำนวนมากทั้งที่ดับแล้วและยังคุกกรุ่นอยู่ โดยเฉพาะในอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์  Back Menu

  7. อุปสงค์และอุปทาน • ในทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply) เป็นแบบจำลองพื้นฐานที่อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ซื้อและผู้ขายสินค้าในตลาดที่มีการแข่งขัน โดยถือว่าอุปสงค์และอุปทาน เป็นตัวแปรที่กำหนดปริมาณและราคาของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด • โดยทั่วไป อุปสงค์ (demand) หมายถึง ความต้องการและความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการ Next

  8. ในขณะที่อุปทาน (supply) หมายถึง สินค้าหรือบริการที่พร้อมจะขายในตลาดเพื่อตอบสนองความต้องการซื้อ • กฎอุปสงค์และอุปทาน • กฎอุปสงค์ (Law of Demand) และกฎอุปทาน (Law of Supply) เป็นหลักการที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อหรือขาย โดยกฎอุปสงค์ระบุว่า ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า หรือเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ Back Next

  9. (quantity demanded) มีความสัมพันธ์ในทางลบกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะต้องการซื้อสินค้านั้นน้อยลง กฎอุปทานระบุว่า ปริมาณสินค้าที่ต้องการขาย หรือปริมาณอุปทาน (quantity supplied) มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือเมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้ขายมีแนวโน้มที่จะต้องการขายสินค้ามากขึ้น Back Next

  10. กฎอุปสงค์และอุปทาน มักนำเสนอออกมาในรูปแบบของแผนภูมิเส้น โดยให้แกนตั้งเป็นราคา และแกนนอนเป็นปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์มักเขียนออกมาเป็นเส้นลาดลง และเส้นอุปทานเป็นเส้นชันขึ้น แม้ว่าโดยทั่วไปเส้นกราฟอุปทานจะมีลักษณะชันขึ้น อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่เส้นกราฟอุปทานไม่เป็นไปตามลักษณะดังกล่าว ตัวอย่างของข้อยกเว้นนี้ได้แก่ เส้นกราฟอุปทานของแรงงานที่มีลักษณะของการโน้มกลับ กล่าวคือ เมื่ออัตราค่าแรงเพิ่มขึ้น คนงานคนหนึ่งก็พร้อมจะทำงานเป็นจำนวนชั่วโมงที่มากขึ้น แต่เมื่ออัตราค่าแรงขึ้นถึงจุดที่สูงมากๆ คนงานอาจพบกับเลือกทำงานน้อยลงและใช้เวลาว่างมากขึ้น Back Next

  11. การวกกลับของเส้นกราฟอุปทานยังปรากฏในตลาดอื่นด้วย เช่นในตลาดน้ำมัน ประเทศที่ส่งออกน้ำมันหลายประเทศลดการผลิตน้ำมันหลังจากราคาพุ่งสูงขึ้นในวิกฤตการณ์น้ำมันปีพ.ศ. 2520 Back Menu

  12. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใช้ประกอบการเก็บข้อมูล เพื่อการบรรยายเชิงปริมาณและคุณภาพ เช่น จีพีเอสหรือระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก เข้มทิศ เครื่องมือบางชนิดใช้ประกอบการเรียนและการสอนในห้องเรียนหรือในห้องปฏิบัติการ และเครื่องมือบางชนิดใช้ประกอบการศึกษาและเก็บข้อมูลเฉพาะในสนามเท่านั้น บางครั้งการใช้เครื่องมือต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย เช่น เครื่องมือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือที่รู้จักกันในปัจจุบัน Next

  13. ว่า GIS(Geographic Information System) ข้อมูลดาวเทียมหรือ SRS (Satellite Remote Sensing) ระบบกำหนดตำแหน่งพื้นผิวโลกหรือ GPS (Global Positioning System) ซึ่งนักภูมิศาสตร์ยุคใหม่จำเป็นต้องรู้ • 1.1 ลูกโลก • 1.) องค์ประกอบของลูกโลก องค์ประกอบหลักของลูกโลกจะประกอบไปด้วย Back Next

  14. 1.1) เส้นเมริเดียนหรือเส้นแวง เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปจดขั้วโลกใต้ ซึ่งกำหนดค่าเป็น 0 องศา ที่เมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ • 1.2) เส้นขนาน หรือเส้นรุ้ง เป็นเส้นสมมติที่ลากจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ทุกเส้นจะขนานกับเส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีค่ามุมเท่ากับ 0 องศา • 2.) การใช้ลูกโลก ลูกโลกใช้ประกอบการอธิบายตำแหน่งหรืสถานที่ของจุหรือพื้นที่ของส่วนต่างๆของโลก โดยประมาณ Back Next

  15. 1.2 เข็มทิศ • เข็มทิศเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ในการหาทิศของจุดหรือวัตถุ โดยมีหน่วยวัดเป็นองศา เปรียบเทียบกับจุดเริ่มต้น เข็มทิศใช้ในการหาทิศโดยอาศัยแรงดึงดูดระหว่างสนามแม่เหล็กขั้วโลก (Magnetic Pole) กับเข็มแม่เหล็ก ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของเครื่องมือนี้ เข็มแม่เหล็กจะแกว่งไกวได้โยอิสระในแนวนอน เพื่อให้แนวเข็มชี้อยู่ในแนวเหนือใต้ ไปยังขั้วแม่เหล็กโลกตลอดเวลา หน้าปัดเข็มทิศซึ่งคล้ายกับหน้าปัดนาฬิกาจะมีการแบ่งโดยรอบเป็น 360 องศา Back Next

  16.  1) ประโยชน์ของเข็มทิศ เข็มทิศใช้ประโยชน์ในการเดินทาง ได้แก่ การเดินเรือทะเล เครื่องบิน การใช้เข็มทิศจะต้องมีแผนที่ประกอบ และต้องหาทิศเหนือก่อน เพื่อจะได้รู้ทิศอื่น • 2) การใช้เข็มทิศ เนื่องจากการหาทิศจริงในแผนที่ต้องใช้เข็มทิศ เพื่อหาทิศเหนือก่อน จึงต้องวางแผนที่ให้ตรงทิศตามเข็มทิศ จากนั้นจึงใช้แผนที่ได้ตามวัตถุประสงค์ Back Menu

  17. วันอนุรักษ์มรดกไทย • เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปี อันเป็นวันคล้ายวันพระ ราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “ วันอนุรักษ์มรดกไทย ” ด้วยตระหนักในพระ ปรีชาสามารถในด้านศิลปวัฒนธรรม และพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงอนุเคราะห์สนับสนุนกิจกรรมอันเนื่องด้วยงานวัฒนธรรมของชาติเสมอมา โดยเฉพาะทรงเป็นแบบอย่างในการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยาวัตรในด้านการอนุรักษ์มรดกของชาติในสาขาต่าง ๆ Next

  18. เช่น วรรณศิลป์ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษาไทย สถาปัตยกรรม ดนตรีไทยและพุทธศาสนา รวมทั้งได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการสร้างสรรค์และธำรงรักษามรดกของชาติให้ยั่งยืนตกทอดต่อไปถึงลูกหลาน • สำหรับคำว่า “ มรดกไทย ” ในที่นี้ คณะกรรมการอำนวยการวันอนุรักษ์มรดกไทย ได้ให้ความหมายไว้ว่า  Back Next

  19. มรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงสัญลักษณ์ของความเป็นชาติ ซึ่งได้แก่ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศิลปหัตถกรรม นาฏศิลป์และดนตรี ตลอดจนถึงการดำเนินชีวิตและคุณค่าประเพณีต่างๆอันเป็นผลผลิตร่วมกันของผู้คนในผืนแผ่นดินในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ” Back Next

  20. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีได้รับการทูลเกล้าฯถวายพระสมัญญาเมื่อ พ . ศ . ๒๕๓๑ ว่า “ เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวัฒนธรรมไทย ” และเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ วันศิลปินแห่งชาติ คณะกรรม การ วัฒนธรรมแห่งชาติก็ได้ทูลเกล้าฯถวายพระสมัญญา “ วิศิษฏศิลปิน ” ( อ่านว่า วิ - สิด - สิน - ละ - ปิน ) แด่พระองค์ท่าน ซึ่ง มีความหมายว่าทรงมีพระอัจฉริยะภาพและทรงพระปรีชาสามารถในศิลปะหลายสาขา ทรงมีคุณูปการต่อเหล่าศิลปินและศิลปวัฒนธรรมของชาติ Back Next

  21. และยังทรงเป็นเมธีทางด้านวัฒนธรรม คือทรงเป็นปราชญ์ที่ มีความรอบรู้ในวัฒนธรรมด้านต่างๆ •   สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน พระราชูปถัมภ์อันหลากหลาย และประกอบพระราชกิจมากมายเพื่อช่วยอนุรักษ์ พัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทยให้เป็นสมบัติของชาติอย่างยั่งยืน Back Next

  22. ทั้งในเรื่องการช่างไทย ดนตรีไทย นาฏศิลป์ งานพิพิธภัณฑ์ โบราณสถานในภูมิภาคต่างๆ ตลอดจนเรื่องอาหารไทย และวิถีชีวิตไทยในด้านอื่นๆ เช่น ด้าสุขภาพอนามัย ด้านสังคมสงเคราะห์ช่วยเด็กพิการและด้อยโอกาส ฯลฯ    โดยเฉพาะทรงพระราชทานพระราชูปถัมภ์แก่เหล่าศิลปินน้อยใหญ่มากมาย ทั้ง ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินพื้นบ้าน ศิลปิน เพลงลูกทุ่ง ฯลฯ เช่น เสด็จฯไปเป็นประธานในงานด้านวัฒนธรรม เสด็จฯไปเยี่ยมเยียนศิลปินที่เจ็บป่วยหรือพระราช ทานของเยี่ยม พระราชทานรางวัลแก่ศิลปิน เป็นต้น ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณดังกล่าวล้วนสร้างขวัญกำลังใจ Back Next

  23. และก่อให้เกิดการตื่นต้วในวงการศิลปวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษา วรรณคดี ประวัติศาสตร์ โบราณคดีและพิพิธภัณฑวิทยา อีกงได้พระราชทานปัญญาความรู้ในเรื่องเหล่านี้แก่วงวิชาการ ที่สำคัญยิ่งก็คือ ได้พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับการบริหารจัดการงานวัฒนธรรม ทั้งในด้านการอนุรักษ์ พัฒนา การปลูกฝังเผยแพร่ การถ่ายทอดสืบสาน และการจัดเก็บข้อมูลต่างๆอย่างเป็นระบบอีกด้วย Back Menu

  24. แบบทดสอบ 1)ประเทศไทยตั้งอยู่ละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือถึง 20 องศา 28 ลิปดาเหนือ" แสดงให้เห็นชัดในเรื่องใด แผนที่ เส้นละติจูด ขนาดพื้นที่ พิกัดภูมิศาสตร์ ก ข ค ง

  25. ถูกค่ะ Next

  26. ผิดค่ะ Next

  27. 2)GIS หมายถึงข้อใด ข้อมูลดาวเทียม ระดับพิกัดพื้นผิวโลก ระบบเครื่องมือภูมิศาสตร์ เครื่องมือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ก ข ค ง

  28. ถูกค่ะ Next

  29. ผิดค่ะ Next

  30. 3)GPS หมายถึงข้อใด ข้อมูลดาวเทียม ระบบสารสนเทศ ระบบพิกัดพื้นผิวโลก เครื่องมือระบบสารสนเทศ ก ข ค ง

  31. ถูกค่ะ Next

  32. ผิดค่ะ Next

  33. 4)หน่วยธุรกิจใดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค4)หน่วยธุรกิจใดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รัฐบาล สหกรณ์ โรงเรียน ครัวเรือน ก ข ค ง

  34. ถูกค่ะ Next

  35. ผิดค่ะ Next

  36. 5)ข้อใดไม่ใช่ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ5)ข้อใดไม่ใช่ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ผลิตที่ใด ผลิตอะไร ผลิตเพื่อใคร ผลิตอย่างไร ก ข ค ง

  37. ถูกค่ะ Next

  38. ผิดค่ะ Next

  39. 6)ไฮโกรมิเตอร์ใช้วัดอะไร?6)ไฮโกรมิเตอร์ใช้วัดอะไร? ความชื้นในอากาศ ความร้อนในอากาศ ก ข

  40. ถูกค่ะ Next

  41. ผิดค่ะ Next

  42. 7)ข้อใดไม่ได้มีอยู่ในลูกโลก7)ข้อใดไม่ได้มีอยู่ในลูกโลก เส้นเขตเวลา เส้นขนาน ก ข

  43. ถูกค่ะ Next

  44. ผิดค่ะ Next

  45. 8)ข้อใดกล่าวถึงความหมายของวัฒนธรรมได้ชัดเจนที่สุด8)ข้อใดกล่าวถึงความหมายของวัฒนธรรมได้ชัดเจนที่สุด สิ่งที่เป็นความเจริญของแต่ละท้องถิ่น ประเพณีของชาติต่างๆ ที่มีการพัฒนาจนถึงปัจจุบัน เอกลักษณ์ของชนชาติต่างๆ ที่มีความเจริญก้าวหน้า ทุกสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และถ่ายทอดจากบรรพบุรุษมายังคนรุ่นหลัง ก ข ค ง

  46. ถูกค่ะ Next

  47. ผิดค่ะ Next

  48. 9)วัฒนธรรมไทยในแต่ละภูมิภาคมีความแตกต่างกันเนื่องจากสิ่งใด9)วัฒนธรรมไทยในแต่ละภูมิภาคมีความแตกต่างกันเนื่องจากสิ่งใด สภาพแวดล้อมทางสังคม สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อมทางประชากร สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี ก ข ค ง

  49. ถูกค่ะ Next

  50. ผิดค่ะ Next

More Related