1 / 12

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎี อุปทาน แรงงาน

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎี อุปทาน แรงงาน. รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุ. พิจารณาการตัดสินใจของแรงงาน ในเรื่อง อายุที่จะออกจากงานประจำ หลังเกษียณ สมมติให้มีรายได้จากบำนาญเพียงอย่างเดียว อายุเกษียณขึ้นอยู่กับ

wilona
Télécharger la présentation

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎี อุปทาน แรงงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์แรงงานEC 471ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

  2. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุ • พิจารณาการตัดสินใจของแรงงาน ในเรื่อง อายุที่จะออกจากงานประจำ • หลังเกษียณ สมมติให้มีรายได้จากบำนาญเพียงอย่างเดียว • อายุเกษียณขึ้นอยู่กับ • อัตราค่าจ้าง และ จำนวนเงินบำนาญ • อัตราค่าจ้างเพิ่ม substitution effect • เงินบำนาญเพิ่ม substitution and income effects

  3. ตัวกำหนดขนาดของประชากรตัวกำหนดขนาดของประชากร • อุปทานแรงงานรวมขึ้นอยู่กับ • ขนาดของประชากร • การตัดสินใจมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน • จำนวนชั่วโมงทำงาน • การตัดสินใจของครัวเรือนเกี่ยวกับจำนวนบุตร อุปทานแรงงานระยะยาว • มอลธัส(คศ. 1798): • รายได้ และ การเจริญพันธุ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวก • รายได้เพิ่ม แต่งงานเร็วขึ้น มีบุตรมากขึ้น • ประชากรเพิ่มขึ้นเป็น อนุกรมเรขาคณิต • ทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มช้ากว่า อนุกรมเลขคณิต

  4. การตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือนความต้องการมีบุตรการตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือนความต้องการมีบุตร • แต่ รายได้ต่อหัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลง • การตัดสินใจเจริญพันธุ์ไม่เพียงขึ้นอยู่กับ รายได้ เท่านั้น แต่ ขึ้นอยู่กับ ราคา ด้วย • ครัวเรือนพิจารณา(ภายใต้ข้อจำกัดงบประมาณ) • จำนวนบุตร • ปริมาณสินค้าบริการ • ความต้องการมีบุตร (เป็นสินค้า commodity อย่างหนึ่ง) • ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางตรง–เสื้อผ้า อาหาร การศึกษา • ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางอ้อม–รายได้ที่พ่อแม่ต้องเสียโอกาสไป

  5. อิทธิพลของรายได้และราคาต่อการตัดสินใจเจริญพันธุ์อิทธิพลของรายได้และราคาต่อการตัดสินใจเจริญพันธุ์ • บุตร จัดว่าเป็น สินค้าปกติ (normal good) • Income effect: รวยขึ้น จะ มีบุตรมากขึ้น (มอลธัส) • Substitution effect: ราคาสูงขึ้น คนจะหันไปซื้อสินค้าอื่น • เหตุใด ครัวเรือนชนบทจึงมีบุตรมากกว่าครัวเรือนในเมือง • การเจริญพันธุ์ และ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ • จำนวนบุตร และ อัตราค่าจ้างของมารดา • นโยบายรัฐ และ การตัดสินใจมีบุตร • นโยบาย “ลูกคนเดียว” ของ ประเทศจีน • นโยบายภาษี และ ให้เงินอุดหนุนรายได้ ของประเทศในยุโรป

More Related