1 / 31

วิทยานิพนธ์ เรื่อง

วิทยานิพนธ์ เรื่อง. ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดี ตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 นา งสุนีพร รัฐการวิวัฒน์ นักศึกษาปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา. บทที่ 1.

Télécharger la présentation

วิทยานิพนธ์ เรื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยานิพนธ์เรื่อง ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดี ตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 นางสุนีพร รัฐการวิวัฒน์ นักศึกษาปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา

  2. บทที่ 1 ภูมิหลังของการวิจัย

  3. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2ทั้งโดยรวมและรายด้าน • เพื่อเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียน ทั้งโดยรวมและรายด้าน • เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2

  4. สมมติฐานการวิจัย • ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งโดยรวมและรายด้าน • การปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 ที่มีเพศ • ประสบการณ์และขนาดโรงเรียนต่างกัน แตกต่างกัน ทั้งโดยรวมและรายด้าน

  5. กรอบแนวคิดของการวิจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย • คู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 4 ข้อของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา

  6. ขอบเขตการวิจัยประชากรและกลุ่มตัวอย่างขอบเขตการวิจัยประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือครูผู้สอนโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่1-2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 2,969 คน 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ได้จำนวนทั้งสิ้น 297 คน

  7. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย • ตัวแปรอิสระ • เพศ ประสบการณ์และขนาดของโรงเรียน • ตัวแปรตาม • ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 4 ข้อ ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา

  8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย • เป็นข้อสนเทศสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 ในการปรับปรุง พัฒนาบุคลากรให้มีการประพฤติปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี

  9. บทที่ 2เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม • ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม • หลักคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับครู • บทบาทหน้าที่ของครู • ค่านิยมที่ครูควรประพฤติปฏิบัติ • จรรยาบรรณของครู • คุณลักษณะของครูที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม • ทักษะการปฏิบัติตนของครู • การปฏิบัติตนตามคู่มือครู

  10. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • งานวิจัยในประเทศ 8 เรื่อง • งานวิจัยต่างประเทศ 7 เรื่อง

  11. บทที่ 3วิธีการดำเนินการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • 1.ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือครูผู้สอนโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่1-2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 2,969 คน • 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น จากประชากรทั้งหมดร้อยละ10แยกตามขนาดโรงเรียนได้ดังนี้

  12. โรงเรียนขนาดเล็ก เพศชาย 38 คน เพศหญิง 31 คน รวม 69 คน โรงเรียนขนาดกลาง เพศชาย 107คน เพศหญิง 101 คน รวม 208 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ เพศชาย 9 คน เพศหญิง 11 คน รวม 20 คน รวมทั้งสิ้น 297 คน ต่ำกว่า 10 ปี จำนวน 84 คน 11-20 ปี จำนวน 143 คน 21 ปีขึ้นไป จำนวน 70 คน รวมทั้งสิ้น 297 คน จำแนกตามขนาดโรงเรียนและประสบการณ์

  13. เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล • แบ่งออกเป็น 3 ตอน • แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม • แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale ) • แบบสอบถามปลายเปิด (Open-Ended Questionnaire)

  14. วิธีการสร้างเครื่องมือวิธีการสร้างเครื่องมือ • ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า • ดำเนินการสร้างแบบสอบถาม • นำแบบสอบถามที่ได้เสนอต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณานำมาปรับปรุงแก้ไข

  15. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ (ต่อ) • นำแบบสอบถามที่ได้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้องพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่น • นำแบบสอบถามที่ได้เสนอต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจความถูกต้องนำไปปรับปรุงแก้ไข • นำแบบสอบถามที่ได้ไปทดลองใช้กับครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน • นำแบบสอบถามที่ได้มาหาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าตามแนวคิดของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.87

  16. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามถึงผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 พร้อมส่งแบบสอบถามให้กับครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 297 ฉบับ โดยส่งด้วยตนเอง 2.ออกติดตามแบบสอบถามด้วยตนเองตามวันเวลาที่กำหนด

  17. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล 1.นำแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาทั้งหมด มาตรวจความสมบูรณ์คัดเลือกเฉพาะฉบับที่สมบูรณ์ไว้ 2.ตรวจให้คะแนนแบบสอบถามเป็นรายข้อและรายด้านตามเกณฑ์ 3.วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนที่1 เกี่ยวกับเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียนด้วยค่าร้อยละ 4.นำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.วิเคราะห์ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี โดยนำค่าเฉลี่ยที่ได้เปรียบเทียบระหว่างเพศ ประสบการณ์ และขนาดโรงเรียน 6.ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นข้อเสนอแนะนำมารวบรวมตามประเด็นแสดงความถี่นำเสนอในรูปความเรียง

  18. สถิติ • สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม • ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา • สถิติพื้นฐาน • ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( Mean ) • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) • สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน • T-test และF -test

  19. บทที่ 4การวิเคราะห์ข้อมูล • ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามจำนวน 297 ฉบับ ได้รับคืน 297 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 ทำการคัดเลือกฉบับที่สมบูรณ์ปรากฎว่ามีความสมบูรณ์ทั้ง 297 ฉบับ จึงมาตรวจสอบให้คะแนน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้ • 1.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามด้วยค่าร้อยละ • 2.วิเคราะห์เกี่ยวกับระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีโดยรวมและรายด้านเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • 3.วิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี โดยรวมและรายด้าน จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียนโดยใช้สถิติ T-test และ F-test ใช้ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.ข้อเสนอแนะการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีนำมารวบรวมตามประเด็น แสดงความถี่ นำเสนอในรูปความเรียง

  20. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

  21. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยรวมและรายด้านโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยรวมและรายด้านโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามเพศ

  22. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามประสบการณ์

  23. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามขนาดโรงเรียน

  24. เปรียบเทียบความแตกต่างระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี จำแนกตามประสบการณ์ โดยรวมและรายด้าน

  25. เปรียบเทียบความแตกต่างระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน

  26. บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ • ผลการวิเคราะห์ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี • พบว่า • 1.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 2.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามเพศโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 3.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามประสบการณ์โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 4.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามขนาดโรงเรียนโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

  27. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน • พบว่า การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน

  28. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครูจำแนกตามขนาดโรงเรียน แตกต่างกัน

  29. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของชาติของข้าราชการครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 เชิงคุณภาพ 2. การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติของ ข้าราชการครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามทุกเขตพื้นที่การศึกษา 3. การปฏิบัติการสอนของครูที่ดีที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน

More Related