1 / 13

แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา. จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 4 สิงหาคม 2557. จำนวนผู้ป่วยที่รายงานโดยองค์การอนามัยโลก ภูมิภาคอัฟริกา.

Télécharger la présentation

แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางดำเนินการเพื่อรับมือผู้ป่วยต้องสงสัย หรือยืนยันว่าป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา จากที่ประชุม Teleconference กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 4 สิงหาคม 2557

  2. จำนวนผู้ป่วยที่รายงานโดยองค์การอนามัยโลกภูมิภาคอัฟริกาจำนวนผู้ป่วยที่รายงานโดยองค์การอนามัยโลกภูมิภาคอัฟริกา เวบไซต์ ณ วันที่ 4 สิงหาคม 2557 (ข้อมูลผู้ป่วย update ถึงวันที่ 31 ก.ค. 57)

  3. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 - 27 July 2014 Guinea Sierra Leone Liberia source: www.ecdc.europa.eu/ source: http://www.cdc.gov/

  4. ภาพรวมของการระบาดในภูมิภาคอัฟริกาตะวันตกภาพรวมของการระบาดในภูมิภาคอัฟริกาตะวันตก • ยอดผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตในขณะนี้นับว่าเป็นการระบาดที่รุนแรงที่สุดตั้งแต่ที่มีค้นพบโรคนี้เป็นต้นมา • สถานการณ์ในกินีเริ่มชะลอตัว แต่ไลบีเรียและเซียร์ราลีโอนยังมีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มอย่างรวดเร็ว และเริ่มแพร่ออกไปประเทศใกล้เคียง • การเคลื่อนย้ายประชากรอย่างสูงภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีผลให้เกิดการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว • WHO ได้ประเมินการควบคุมการระบาด พบปัญหาอุปสรรคในการติดตามผู้สัมผัสได้ไม่ครบถ้วน การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลโดยเฉพาะในบริเวณนอกเมืองใหญ่ ขาดแคลนทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งขาดบุคลากรที่มีความรู้ทางวิชาการ ขาดการประสานระหว่างพรมแดนระหว่างประเทศเพื่อติดตามผู้ป่วย

  5. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (1) • การติดเชื้อและเสียชีวิตในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ ประเทศ Sierra Leone: • Dr. Sheik Humarrแพทย์หัวหน้าทีมรักษาผู้ป่วยอีโบลาเสียชีวิต ประเทศ Liberia: • Dr. Samuel Brisbane หนึ่งในแพทย์หัวหน้าทีมรักษาผู้ป่วยอีโบลาเสียชีวิต โดยเป็นแพทย์ชาวไลบีเรียนรายแรกที่เสียชีวิตจากอีโบลา • Dr. Kent Brantlyชาวอเมริกันซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ Samaritan's Purse care center และ Nancy Writebolเจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันอีก 1 รายเป็น hygienist (ทำหน้าที่ decontaminate staff ที่กำลังเข้าและออกจากหน่วยแยกโรคของโรงพยาบาล) เกิดการติดเชื้ออีโบลา ขณะนี้อาการค่อนข้างหนัก ทั้งสองรายถูกส่งกลับอเมริกาแล้วโดยใช้เครื่องบินทางการแพทย์ขนย้ายผู้ป่วยเข้ามาทำการรักษายังโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเอมโมรี่ เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย

  6. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (2) • การพบผู้ป่วยในประเทศใหม่ (ไนจีเรีย) ซึ่งไม่ได้เป็นพื้นที่ติดต่อกับประเทศที่กำลังมีการระบาด • นาย Patrick Sawyer ที่ปรึกษาการคลังชาวไลบีเรียนได้เสียชีวิตที่เมือง Lagos ประเทศไนจีเรีย นับเป็นผู้ป่วยรายแรกของประเทศ ขณะนี้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มผู้ป่วยเข้าข่าย (probable case) โดยอยู่ระหว่างรอส่งตัวอย่างตรวจยืนยันที่ Pasteur Institute ในประเทศ Senegal แต่บริษัทขนส่งไม่ยอมรับตัวอย่าง • มีประวัติเดินทางโดยเครื่องบินจากไลบีเรีย ผ่านสนามบินอีก 2 ประเทศ คือที่เมือง Lomeประเทศ Togo และเมือง Accra ประเทศGhana โดยที่ผู้ป่วยมีอาการอาเจียนและถ่ายเหลวในขณะเดินทาง สามารถระบุผู้สัมผัสแล้ว 59 ราย, 15 รายเป็นพนักงานบนเครื่องบิน และอีก 44 รายเป็นผู้สัมผัสในโรงพยาบาล • น่าจะได้รับเชื้อจากการดูแลน้องสาวซึ่งเสียชีวิตไปก่อนหน้านี้ โดยที่ระยะแรกได้รับการวินิจฉัยเป็นมาลาเรีย แต่มาตรวจพบว่าเป็น Ebola หลังจากเสียชีวิต

  7. แนวทางดำเนินการ • จัดตั้งระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • เตรียมห้องแยกในโรงพยาบาลทุกแห่ง • จัดระบบป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานสากล • ระบบการส่งตรวจยืนยันเชื้อทางห้องปฏิบัติการ • ชี้แจงทำความเข้าใจและให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และประชาชน

  8. นิยามเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (ปัจจุบัน) • มีไข้ตั้งแต่ 38c ขึ้นไป และ • มีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง 21 วัน • Liberia – ไลบีเรีย • Sierra Leone – เซียรา เลโอน • Guinea – กีนี • Nigeria – ไนจีเรีย • ทั้งนี้ให้มีติดตามอาการของประชาชนที่เดินทางจากพื้นที่เสี่ยงอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 21 วันด้วย

  9. 2. จัดเตรียมห้องแยกในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง3. จัดระบบป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานสากล • ให้ตรวจสอบความพร้อมของห้องแยกในโรงพยาบาล • ต้องเป็นห้องเดี่ยวมีห้องน้ำในตัวและมีประตู • ควรมีเจ้าหน้าที่เฝ้าหน้าห้องเพื่อรับประกันว่ามีการใช้ PPE เสมอ • มีการบันทึกชื่อผู้เข้าออกเสมอ • ให้ตรวจสอบความพร้อมของ PPE • เครื่องมือหัตถการควรเป็นแบบ disposable • Standard + Contact + Droplet Precaution

  10. Personal Protective Equipment (PPE) เครื่องป้องกันดวงตา (goggles or face shield) หน้ากาก เสื้อกาวน์ (กันน้ำ/ของเหลวซึมผ่านไม่ได้) ถุงมือยาว • การใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมในกรณีที่ต้องการการป้องกันเป็นพิเศษ • ถุงมือสองชั้น • ปลอกคลุมรองเท้า • ปลอกคลุมขา • หมวกคลุมศีรษะ

  11. 4. ระบบการส่งตรวจยืนยันเชื้อทางห้องปฏิบัติการ • หากต้องการตรวจให้แจ้งไปยังกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์โดยตรง เพื่อให้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์นำบุคลากรและเครื่องมือเข้ามาทำการเก็บตัวอย่างเอง

  12. 5. ชี้แจงทำความเข้าใจและให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่และประชาชน • สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน • เจ้าหน้าที่ – ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่จะต้องมีการเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย • แพทย์ • พยาบาล (OPD/IPD/ER) • ผู้ช่วยพยาบาล • นักวิทยาศาสตร์การแพทย์/เจ้าหน้าที่Lab/เจ้าหน้าที่X-ray • นักกายภาพบำบัด • เจ้าหน้าที่ทันตกรรม • เภสัชกร • เจ้าหน้าที่รพ.สต. / SRRT • ผู้จัดการศพ • พนักงานโรงพยาบาลอื่นๆที่อาจเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย (เช่น การเงิน, รปภ., ภารโรง)

More Related