1 / 18

การประยุกต์ใช้ไอซีที ในร้านอาหารและเครื่องดื่ม

การประยุกต์ใช้ไอซีที ในร้านอาหารและเครื่องดื่ม. ดร.ไพศาล กาญ จนวงศ์ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่ โจ้. ประเภทธุรกิจร้านอาหาร.

xaria
Télécharger la présentation

การประยุกต์ใช้ไอซีที ในร้านอาหารและเครื่องดื่ม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ไอซีทีในร้านอาหารและเครื่องดื่มการประยุกต์ใช้ไอซีทีในร้านอาหารและเครื่องดื่ม ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  2. ประเภทธุรกิจร้านอาหารประเภทธุรกิจร้านอาหาร • ธุรกิจ Quick service ส่วนใหญ่เป็นแฟรนไชซีของบริษัทแม่ในต่างประเทศ เช่น ร้านขายไก่ เบอร์เกอร์พิซซ่า ประเภทโดนัทและไอศครีม ปัจจุบันร้านค้านี้อยู่ในลักษณะทรงตัว ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์ ที่มา : OKnation. 2552. ไอทีกับธุรกิจร้านอาหาร http://www.oknation.net/blog/ilovedpu/2009/09/10/entry-6

  3. ประเภทธุรกิจร้านอาหารประเภทธุรกิจร้านอาหาร • ธุรกิจภัตตาคาร กลุ่มนี้มีการขยายตัวเร็วมาก ผู้ประกอบการต่างเร่งขยายสาขา สร้างภาพพจน์ของตนเองเพื่อสนอง ผู้บริโภคที่หันมานิยมนั่งรับประทานอาหารในร้านประเภทนี้มากขึ้น ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์ ที่มา : OKnation. 2552. ไอทีกับธุรกิจร้านอาหาร http://www.oknation.net/blog/ilovedpu/2009/09/10/entry-6

  4. ประเภทธุรกิจร้านอาหารประเภทธุรกิจร้านอาหาร • ธุรกิจร้านอาหารขนาดเล็ก หรือ SMEs ส่วนใหญ่เป็นร้านที่มีเจ้าของบริหารเองทุกอย่าง ผู้ประกอบการรายใหม่จะเข้ามาในกลุ่มนี้มาก ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์ ที่มา : OKnation. 2552. ไอทีกับธุรกิจร้านอาหาร http://www.oknation.net/blog/ilovedpu/2009/09/10/entry-6

  5. ข้อดี • เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน (Operation Efficiency) • เพิ่มผลผลิต (Function Effectiveness) • เพิ่มคุณภาพบริการลูกค้า (Quality Customer Service) • ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลผลิต (Product Creation and Enhancement) • สามารถสร้างทางเลือกเพื่อแข่งขันได้ (Altering the basic of competition) • สร้างโอกาสทางธุรกิจ (Identifying and Exploiting Business Opportunities) • ดึงดูดลูกค้าและป้องกันคู่แข่ง (Client Lock-In/Competitor Lock-Out) ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  6. ข้อเสีย • วงจรชีวิตของระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างจำกัด เพราะ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริหาร ก็อาจจะต้องเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วย • ลงทุนสูง เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่มีราคาแพง และส่วนมากไม่อาจจะนำไปใช้ได้ทันที แต่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเสียก่อนจึงจะใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  7. ประโยชน์ที่ได้ • รับออเดอร์ได้รวดเร็วทันใจ • ให้บริการได้อย่างรวดเร็วอย่างที่คุณต้องการ • เพิ่ม ลด หรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ได้อย่างไม่มีปัญหา • เช็กบิลรวดเร็ว และถูกต้องในทุกรายละเอียด • รองรับการขยายธุรกิจในอนาคต ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  8. การนำ ICT มาใช้ • โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกันคือ ออฟิตส่วนหลัง (Back-office) และออฟิตส่วนหน้า (Post-office) ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  9. ระบบการจองโต๊ะ ( Reserve System ) • ระบบการขายสินค้า ( Sale System ) • ระบบการรับเงินของแคชเชียร์ ( Recive Money System ) ที่สามารถกำหนดรอบการทำงานได้ ระบบการรับ-เบิก สินค้า • ระบบสต็อกสินค้า ( Product Inventory ) • ระบบการรับ-เบิก วัตถุดิบ ระบบสต็อกวัตถุดิบ ( Material Inventory ) • ระบบสมาชิก • ระบบการรับ Order รายการสินค้า ผ่าน Tablet • ระบบการออกเอกสาร อาทิเช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี • ระบบรายงานต่างๆ รวมไปถึงรายงานเชิงวิเคราะห์ เป็นต้น ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  10. กรณีตัวอย่างร้านอาหารสุกี้กรณีตัวอย่างร้านอาหารสุกี้ (อ้างอิงจาก : http://opdc.dgr.go.th/PMQA51/MK_%20Low%20Profile.pdf) ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  11. เอ็มเคสุกี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของภัตตาคารที่ประสบความสำเร็จสูงมากแห่งหนึ่งในปี 2543 บริษัทสามารถทำรายได้ถึง 3500.49 ล้านบาท คิดเป็นกำไรถึง 206.09 ล้านบาท หรือคิด เป็น 5.88% เอ็มเคสุกี้เป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างรวดเร็วจากผู้บริโภคโดยเฉพาะกลุ่มครอบครัวที่เป็นฐานลูกค้าหลัก เหตุผลหนึ่งที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้เอ็มเคสามารถขยายตัวอย่างรวดเร็วคือ แนวคิดในการจัดการร้านแนวใหม่ที่มุ่งตอบสนองความรู้สึกลูกค้าให้สนุกสนานกับการรับประทานอาหาร สร้างบรรยากาศในการรับประทาน ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  12. จุดเริ่มต้นของการพัฒนาจุดเริ่มต้นของการพัฒนา • โจทย์ข้อที 1 ปัญหาความเร็วของการให้บริการอันเนื่องมาจากเตา ที่ต้องใช้ต้มนำสุกี้ที่ต้องใช้ระยะเวลานานทำให้ลูกค้าต้องใช้เวลารอนาน • การพัฒนาเริ่มจากการใช้แก็ส • ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นเตาไฟฟ้าซึ่งต้องใช้เวลา 15 นาทีน้ำจึงทำให้น้ำเดือด • ต่อมาพัฒนามาเป็นการใช้เตาไฟฟ้าแบน ทำให้มีความปลอดภัยจากเด็กและไฟฟ้าดูด และใช้เทคนิคการต้มน้ำให้เดือดก่อนแล้วจึงนำมาเสริฟทำให้ใช้เวลาน้อยลง ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  13. โจทย์ข้อที่ 2 การทำให้อาหารสดขึ้น พบว่ามีปัญหาจากเนื้อสัตว์ที่ทางผู้จำหน่ายอาจชำแหละไว้ก่อนที่ส่งมายังร้าน และเมื่อจำหน่ายให้ลูกค้าอาจใช้ระยะเวลานาน 2-3 วัน ซึ่งทำให้อาหารไม่สด • เอ็มเคจึงได้ออกแบบตู้เย็นที่มีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส และใช้ระบบซื้อก่อน ใช้ก่อน และเก็บอาหารโดยการห่อหุ้มเพื่อรักษาความชื้นและให้ความเย็นเข้าถึงด้วยและกำหนดการส่งของตอนกลางคืนและส่งตอนเช้าพร้อมกับการเปลี่ยนเวลาทำงานจาก 8 โมงเช้าเลิก 5 โมงเย็นเป็นการเข้าทำงานเที่ยงคืน แล้วจ่ายวัตถุดิบไปยังร้านสาขาต่างๆในตอนเช้าเป็นวงจรห่วงโซ่อาหาร โดยมีปัจจัยหลักคือการรักษาอุณหภูมิและใช้เวลาน้อยที่สุด ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  14. โจทย์ข้อที่ 3 เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว และสวยงาม ซึ่งในอดีตพนักงานจะรับออร์เดอร์แล้วจดบันทึก และนำส่งให้คนในครัวจัด เมื่อมีลูกค้าจำนวนมากการทำงานจะใช้เวลานาน • โดยการออกแบบบิลให้สามารถเลือกรายการอาหารได้ตามต้องการ และเรียงลำดับรายการอาหารเหมือนในครัวแล้วให้พนักงานรับออรเดอร์เป็นคนจัด • ได้นำเอาเทคโนโลยี PDA มาใช้ในการรับออร์เดอร์ของลูกค้า • ออกแบบภาชนะเป็นคอนโดทำให้สามารถจัดวางลงถาดได้รวดเร็วและประหยัดพื้นที่ ภาชนะเป็นวัสดุที่เน้นความปลอดภัยในอาหารและยังมีร่องเพื่อส่งผ่านความเย็นเข้าไปได้ ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  15. ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  16. โจทย์ข้อที่ 4 เป็นการบริการประทับใจ ปัญหาที่พบคือพนักงานจำตัวเลขโต๊ะไม้ได้ ส่งของผิด เอ็มเคแก้ปัญหาโดย • การจัดฝึกอบรมให้กับพนักงานโดยเน้น QCQS คือ Quickness หรือความรวดเร็วในการให้บริการ Cleanliness ความสะอาด Quality คุณภาพอาหาร และ Service การใหบริการ ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  17. การพัฒนาของเอ็มเคยังไม่หยุดนิ่งยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยขยายสาขาออกไปทั้งในประเทศไทยจำนวน 75 สาขา และต่างประเทศ ทำให้ต้องมีการวางแผนในเรื่องจาก ครัวกลางการฝึกอบรม ระบบบัญชี การบริหารบุคคล ระบบขนส่ง ให้มีประสิทธิภาพรองรับการทำงานทั้งหมด ทำให้ปัจจุบันเอ็มเคสามารถส่งข้อมูลผ่าน Web Based มีระบบคอมพิวเตอร์ที่รวบรวมข้อมูล ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

  18. ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

More Related