1 / 58

เงินนอกงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ. กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง. The Off-Budgetary Management Office. “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ”. “ภาคความรู้เกี่ยวกับการคลังภาครัฐ”. สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินน อกงบประมาณ. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ?. 1.

yale
Télécharger la présentation

เงินนอกงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินนอกงบประมาณ กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง The Off-Budgetary Management Office “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” “ภาคความรู้เกี่ยวกับการคลังภาครัฐ” สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  2. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? 1 กรอบแนวคิดในการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ 2 ประเภทของเงินนอกงบประมาณ/ฐานะเงินนอกงบประมาณ ระบบการบริหารและเครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร 5 7 3 ประเภทของทุนหมุนเวียน โครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทย กรอบแนวทางการพัฒนาและผลลัพธ์ที่คาดหวัง 4 8 6 หัวข้อการนำเสนอ ที่มาของเงินนอกงบประมาณและขอบเขตการกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  3. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? • “เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนอกจาก เงินงบประมาณรายจ่ายเงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืนและเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน” [ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 ข้อ 4 ] • สรุปความหมาย: เงินนอกงบประมาณ • “เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการซึ่งได้รับอนุมัติหรืออนุญาตให้เก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน” สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  4. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? • เงินงบประมาณรายจ่าย คือ จำนวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่าย หรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน พรบ. งบประมาณรายจ่าย (จาก พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 4) • เงินรายได้แผ่นดิน คือ เงินทั้งปวงที่ส่วนราชการจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมายว่าด้วย เงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณบัญญัติไม่ให้ส่วนราชการนั้นนำไปใช้จ่ายหรือหักไว้เพื่อการใด ๆ • เงินเบิกเกินส่งคืน คือ เงินงบประมาณรายจ่ายที่ส่วนราชการเบิกจากคลังไปแล้ว แต่ไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด หรือจ่ายไปแล้วแต่ถูกเรียกคืน และได้นำส่งคลังก่อนสิ้นปีงบประมาณหรือก่อนสิ้นระยะเวลาเบิกเงินที่กันไว้เบิกเหลือมปี • เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน” คือ เงินงบประมาณรายจ่ายที่ส่วนราชการเบิกจากคลังไปแล้ว แต่ไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด หรือจ่ายไปแล้วแต่ถูกเรียกคืน และได้นำส่งคลังภายหลังสิ้นปีงบประมาณหรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  5. กรอบแนวคิดการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณกรอบแนวคิดการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  6. เงินนอกงบประมาณ ในการกำกับดูแล • พ.ร.บ.เงินคงคลัง 2491 • เงินทุนหมุนเวียน • เงินยืมทดรองราชการ • เงินฝาก เช่น เงินฝากค่าใช้จ่าย เก็บภาษีท้องถิ่น เงินค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงานการกงสุล เงินค่าใช้จ่าย ในการบริหารที่ราชพัสดุ • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2502 • เงินบริจาค • เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินรายรับสถานพยาบาล/ สถานศึกษา • เงินที่ได้รับในลักษณะเงินผลพลอยได้ ข้อบังคับ ระเบียบ มาตรา 24 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 3,4, 12,13พระราชบัญญัติ เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 กรมบัญชีกลาง ที่มาของเงินนอกงบประมาณ และขอบเขตกำกับดูแล พรบ. เฉพาะ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  7. ที่มาและขอบเขตเงินนอกงบประมาณที่มาและขอบเขตเงินนอกงบประมาณ • พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 • ม. 3 เงินฝาก ทุนหมุนเวียน • ม. 4 วรรคสอง รัฐมนตรี(ว่าการกระทรวงการคลัง) มีอำนาจกำหนดข้อบังคับอนุญาตให้หัวหน้าส่วนราชการใด ๆ หักรายจ่ายจากเงินที่จะต้องส่งเข้าบัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1 หรือคลังจังหวัด ในกรณีดังนี้ • (1) รายจ่ายที่หักนั้นเป็นรายจ่ายที่กฎหมายอนุญาตให้จ่ายได้ เช่น เงินที่ราชพัสดุ เงินฝากค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น เป็นต้น • (2) รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามระเบียบที่ได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นค่าสินบนรางวัล หรือค่าใช้จ่ายในการจัดให้ได้มาซึ่งเงินอันพึงต้องชำระ ให้แก่รัฐบาล • (3) รายจ่ายที่ต้องจ่ายคืนให้แก่บุคคลใด ๆ เพราะเป็นเงินอันไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล เช่น เงินประกัน ค่าปรับ เงินมัดจำ เป็นต้น สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  8. ที่มาและขอบเขตเงินนอกงบประมาณที่มาและขอบเขตเงินนอกงบประมาณ • พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • ม. 24 วรรคสอง :ส่วนราชการใด ได้รับเงินที่มีผู้มอบให้โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ส่วนราชการนั้นใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี หรือได้รับเงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่าย ในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี ให้ส่วนราชการนั้นจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันภายในวงเงินที่ได้รับนั้น และไม่ต้องนำส่งคลัง • ม. 24 วรรคสาม :ในกรณีส่วนราชการได้รับเงินตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประขาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษแห่งสหประขาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นใด หรือบุคคลไม่ว่าจะเป็นเงินให้กู้หรือให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือ หรือร่วมมือเช่นว่านั้น รัฐมนตรีจะกำหนดเป็นอย่างอื่นโดยไม่ต้องนำส่งคลังก็ได้ • ม. 24 วรรคสี่ : รัฐมนตรีจะอนุญาตให้ส่วนราชการที่ได้รับเงินในกรณีต่อไปนี้ นำเงินนั้นไปใช้จ่าย โดยไม่ต้องนำส่งคลังก็ได้คือ • (1) เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สินและจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา • (2) เงินรายรับของส่วนราชการที่เป็นสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อำนวยบริการอันเป็นสาธารณะประโยชน์หรือประชาสงเคราะห์ • (3) เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ • (4) เงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหุ้นในนิติบุคคลเพื่อนำไปซื้อหุ้นในนิติบุคคลอื่น สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  9. โครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทยโครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทย สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  10. แผนภาพแสดงข้อมูล GDP เงินนอกงบประมาณ และเงินงบประมาณ ปีงบประมาณ 2550-2554 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  11. ประเภทของเงินนอกงบประมาณที่กรมบัญชีกลางกำกับดูแลประเภทของเงินนอกงบประมาณที่กรมบัญชีกลางกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  12. แผนภาพแสดงข้อมูลฐานะเงินนอกงบประมาณแผนภาพแสดงข้อมูลฐานะเงินนอกงบประมาณ ปีงบประมาณ2550-2554 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  13. ประเภทของทุนหมุนเวียน(ณ 30 ก.ย. 2554 รวม 108 ทุน) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  14. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (ทุนหมุนเวียน) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  15. 2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย 1. แนวทางการจัดตั้ง 3.ประเมินผลการดำเนินงาน 4.การยุบรวม/เลิก เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร กรณีเงินทุนหมุนเวียน 2.1 อำนาจกระทรวงการคลัง 2.2 อำนาจคณะกรรมการ 5.การรายงานตาม รธน. 2550 ม. 170 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  16. กระบวนการในการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนกระบวนการในการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  17. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลังการกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการกำหนดระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ของทุนหมุนเวียน 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน 3. การเข้าทำหน้าที่เป็นผู้แทนกระทรวงการคลังในคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน 4. การติดตามการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน 5. การทบทวนประสิทธิภาพทุนหมุนเวียน 6. การรายงานข้อมูลของทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  18. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการกำหนดระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ของทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  19. การกำหนดรหัสโครงสร้างและขอเปิดบัญชีเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียนที่จัดตั้งใหม่ในระบบGFMISการกำหนดรหัสโครงสร้างและขอเปิดบัญชีเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียนที่จัดตั้งใหม่ในระบบGFMIS การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน เช่น 1. ส่วนราชการแจ้งความประสงค์ขอให้กำหนดโครงสร้างและขอเปิดบัญชีเงินฝาก ก.การคลัง กรมบัญชีกลาง ส่วนราชการเจ้าของทุนหมุนเวียน 2. บก.แจ้งรายละเอียดการเปิดบัญชีเงินฝาก ก.การคลัง ให้ส่วนราชการทราบ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  20. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน เช่น การขอปิดบัญชีเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียนในระบบ GFMIS 1. ส่วนราชการแจ้งความประสงค์ขอปิดบัญชีเงินฝาก ก.การคลัง กรมบัญชีกลาง ส่วนราชการเจ้าของทุนหมุนเวียน 2. บก.แจ้งรายละเอียดการปิดบัญชีเงินฝาก ก.การคลัง ให้ส่วนราชการทราบ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  21. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน เช่น การพิจารณาอนุมัติวงเงินประมาณการรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม เฉพาะทุนหมุนเวียนซึ่งระเบียบกำหนดให้ส่วนราชการต้องขออนุมัติจากกระทรวงการคลัง สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  22. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน เช่น การพิจารณาให้ความตกลงหรือตอบข้อหารือในการเบิกจ่ายเงินทุนหมุนเวียน การดำเนินงานในระบบของทุนหมุนเวียนมุ่งเน้นความคล่องตัวในการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงิน รวมถึงกรณีที่ส่วนราชการ ไม่สามารถใช้จ่ายเงินจากเงินงบประมาณปกติในการแก้ไขปัญหาได้อย่างทันกาล เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ในการดำเนินงานในลักษณะของทุนหมุนเวียน กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ ของทุนหมุนเวียนจึงมักจะกำหนดว่า ในกรณีที่ส่วนราชการเจ้าของทุนหมุนเวียนไม่อาจปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ได้ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเป็นกรณี ๆ ไป สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  23. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 2. กำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดความคล่องตัวในการ ปฏิบัติงาน เช่น การตัดหนี้สูญ คำสั่งกระทรวงการคลัง ที่ 60/2552 ลงวันที่ 19 มกราคม 2552 หนังสือสำนักเลขาธิการคณะปฏิวัติ ที่ ลธ.ปว.12986/2515 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2515 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  24. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 3. การเข้าทำหน้าที่เป็นผู้แทนกระทรวงการคลังในคณะกรรมการบริหารทุน หมุนเวียน เช่น คณะกรรมการประกันสังคม คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู คณะกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหารท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ-กองทัพเรือ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  25. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 4. การติดตามการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางมีหน้าที่ในการกำกับดูแลและควบคุมให้การดำเนินงานของทุนหมุนเวียนต่าง ๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ภายใต้ระเบียบที่กำหนดและเกิดประโยชน์สูงสุด แก่ทางราชการ จึงกำหนดให้มี การติดตามผลการดำเนินงานของทุนหมุนเวียนโดยมีผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเดินทางไปติดตามผลการดำเนินงานของทุนหมุนเวียนนั้น ๆ เพื่อรับทราบข้อเท็จจริง ตลอดจนสภาพปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน โครงการติดตามผลการดำเนินงานเของทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  26. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 4. การติดตามการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน ขั้นตอนการจัดทำโครงการติดตามผลการดำเนินงาน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  27. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 5. การทบทวนประสิทธิภาพทุนหมุนเวียน กำหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณา จัดประชุมหารือ สรุปความเห็นเพื่อเสนอ ค.ร.ม. ดำเนินการรวม/ยุบเลิกทุนหมุนเวียน ติดตามผล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  28. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน ความเป็นมา • แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ • นโยบายกระทรวงการคลัง • นโยบายปฏิรูประบบเงินนอกงบประมาณ ของกรมบัญชีกลาง • กระทรวงการคลัง ให้ความเห็นชอบในการดำเนินการ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2544 • มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2546 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  29. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน 1. เพื่อให้มีระบบการประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้มีการประเมินผลทุนหมุนเวียนที่ต้องดำเนินการทุกทุนให้มีระสิทธิภาพและสามารถเป็นเครื่องมือของภาครัฐในการตอบวัตถุประสงค์ของกองทุน ได้อย่างสูงสุด 3. เพื่อเพิ่มความคล่องตัวให้แก่ผู้บริหารทุนหมุนเวียน 4. เพื่อลดภาระของภาครัฐ ที่เกิดจากการดำเนินงานที่ขาดประสิทธิภาพของ ทุนหมุนเวียน วัตถุประสงค์ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  30. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน การกำกับดูแลระบบประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน โดยคณะกรรมการ 2 ชุด 1. คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน (PAC) 2. คณะกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงและประเมินผลการดำเนินงาน ทุนหมุนเวียน (Sub PAC) การกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  31. เกณฑ์การวัดผลการดำเนินงานเกณฑ์การวัดผลการดำเนินงาน Balanced Scorecard ด้านการเงิน ด้านสนองประโยชน์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิสัยทัศน์/ภารกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านการบริหารพัฒนา ทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  32. เกณฑ์การประเมินผล • เป็นการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดีมาก = 5 คะแนน ดี = 4 คะแนน ปกติ = 3 คะแนน พอใช้ = 2 คะแนน ปรับปรุง = 1 คะแนน • หากมีผลคะแนนในแต่ละตัวชี้วัด ที่ได้รับเท่ากับ 5 แสดงว่ามีผลงานดีมากโดยคะแนนรวมที่ได้รับยิ่งสูงยิ่งดี สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  33. กระบวนการ/ขั้นตอนการประเมินผลกระบวนการ/ขั้นตอนการประเมินผล • กำหนดวิสัยทัศน์/ภารกิจ/วัตถุประสงค์ • รวบรวมแผนงาน/โครงการที่สำคัญ • กำหนดเกณฑ์วัดการดำเนินงาน/ค่าเกณฑ์วัด/น้ำหนัก • จัดทำบันทึกข้อตกลง • ดำเนินการประเมินผลฯ • รายงานการประเมินผลฯ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  34. กระบวนการ / ขั้นตอนของการประเมินผลฯ ทุนหมุนเวียนส่งร่างบันทึกข้อตกลงฯ ให้กรมบัญชีกลาง ทริส บก. และคณะทำงานทุนหมุนเวียน หารือตัวชี้วัด น้ำหนัก เป้าหมาย การประเมินผลเพื่อนำเสนอคณะกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ (SubPAC) พิจารณา จัดทำบันทึกข้อตกลงฯ (กรณี SubPAC เห็นชอบ) หารือเพิ่มเติมกับทุนฯ (กรณี SubPAC มีข้อสังเกตเพิ่มเติม) และนำเสนอ (Sub PAC) และจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ ฝ่ายเลขาฯ ติดตามประเมินผลรอบครึ่งปีบัญชี และรอบสิ้นปีบัญชี คณะกรรมการประเมินผลฯ พิจารณาตัดสินและประเมินผลตัวชี้วัด ณ สิ้นปีบัญชี สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  35. การกำกับดูแลทุนหมุนเวียนของกระทรวงการคลัง (ต่อ) 6. การรายงานข้อมูลของทุนหมุนเวียน เช่น รายงานการรับและการใช้จ่ายเงินตามมาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ รายงานข้อมูลตามระบบ CFO , ระบบ GFMIS รายงานงบการเงิน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  36. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน ความเป็นมา • แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ • นโยบายกระทรวงการคลัง • นโยบายปฏิรูประบบเงินนอกงบประมาณ ของกรมบัญชีกลาง • กระทรวงการคลัง ให้ความเห็นชอบในการดำเนินการ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2544 • มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2546 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  37. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน 1. เพื่อให้มีระบบการประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้มีการประเมินผลทุนหมุนเวียนที่ต้องดำเนินการทุกทุนให้มีระสิทธิภาพและสามารถเป็นเครื่องมือของภาครัฐในการตอบวัตถุประสงค์ของกองทุน ได้อย่างสูงสุด 3. เพื่อเพิ่มความคล่องตัวให้แก่ผู้บริหารทุนหมุนเวียน 4. เพื่อลดภาระของภาครัฐ ที่เกิดจากการดำเนินงานที่ขาดประสิทธิภาพของ ทุนหมุนเวียน วัตถุประสงค์ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  38. การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน การกำกับดูแลระบบประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน โดยคณะกรรมการ 2 ชุด 1. คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน (PAC) 2. คณะกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงและประเมินผลการดำเนินงาน ทุนหมุนเวียน (Sub PAC) การกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  39. เกณฑ์การวัดผลการดำเนินงานเกณฑ์การวัดผลการดำเนินงาน Balanced Scorecard ด้านการเงิน ด้านสนองประโยชน์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิสัยทัศน์/ภารกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านการบริหารพัฒนา ทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  40. เกณฑ์การประเมินผล • เป็นการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดีมาก = 5 คะแนน ดี = 4 คะแนน ปกติ = 3 คะแนน พอใช้ = 2 คะแนน ปรับปรุง = 1 คะแนน • หากมีผลคะแนนในแต่ละตัวชี้วัด ที่ได้รับเท่ากับ 5 แสดงว่ามีผลงานดีมากโดยคะแนนรวมที่ได้รับยิ่งสูงยิ่งดี สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  41. กระบวนการ/ขั้นตอนการประเมินผลกระบวนการ/ขั้นตอนการประเมินผล • กำหนดวิสัยทัศน์/ภารกิจ/วัตถุประสงค์ • รวบรวมแผนงาน/โครงการที่สำคัญ • กำหนดเกณฑ์วัดการดำเนินงาน/ค่าเกณฑ์วัด/น้ำหนัก • จัดทำบันทึกข้อตกลง • ดำเนินการประเมินผลฯ • รายงานการประเมินผลฯ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  42. กระบวนการ / ขั้นตอนของการประเมินผลฯ ทุนหมุนเวียนส่งร่างบันทึกข้อตกลงฯ ให้กรมบัญชีกลาง ทริส บก. และคณะทำงานทุนหมุนเวียน หารือตัวชี้วัด น้ำหนัก เป้าหมาย การประเมินผล เพื่อนำเสนอคณะกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ (SubPAC) พิจารณา จัดทำบันทึกข้อตกลงฯ (กรณี SubPAC เห็นชอบ) หารือเพิ่มเติมกับทุนฯ (กรณี SubPAC มีข้อสังเกตเพิ่มเติม) และนำเสนอ (Sub PAC) และจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ ฝ่ายเลขาฯ ติดตามประเมินผลรอบครึ่งปีบัญชี และรอบสิ้นปีบัญชี คณะกรรมการประเมินผลฯ พิจารณาตัดสินและประเมินผลตัวชี้วัด ณ สิ้นปีบัญชี สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  43. การรวม/ยุบเลิกทุนหมุนเวียนการรวม/ยุบเลิกทุนหมุนเวียน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  44. การรวมทุนหมุนเวียน 1. กค.กำหนดวันรวมทุนฯ เข้าด้วยกัน 2. สรก.จัดการเกี่ยวกับพนักงาน/ลูกจ้างของทุนฯ 3. สรก.ปิดบัญชี/จัดทำงบการเงินส่ง ส.ต.ง. 4. กำหนดชื่อทุนฯ ที่จะรวมเข้าด้วยกัน 5. สรก.ยกร่างระเบียบทุนฯ ใหม่ / แก้ไขระเบียบเพิ่มเติม 6. แต่งตั้งคณะกรรมการรวมทุนหมุนเวียน 7. จัดประชุมคณะกรรมการรวมทุนฯ เพื่อพิจารณารวมบัญชี 8. ขออนุมัติเปิดบัญชีเงินฝาก กค. ใหม่ / ปิดบัญชีเงินฝาก กค. เดิม 9. รายงานความคืบหน้าการรวมทุนให้ กค. ทราบ เป็นรายไตรมาส 10. สรุปผลการดำเนินการรวมทุนแจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด กค. สำนักงบประมาณ ส.ต.ง.

  45. การยุบเลิกทุนหมุนเวียนการยุบเลิกทุนหมุนเวียน 1. กค.กำหนดวันที่จะยุบเลิกทุนหมุนเวียน 2. สรก.จัดการเกี่ยวกับพนักงาน/ลูกจ้างของทุนฯ 3. สรก.ปิดบัญชี/จัดทำงบการเงินส่ง ส.ต.ง. 4. สรก. แต่งตั้งคณะกรรมการชำระบัญชี 5. จัดประชุมคณะกรรมการชำระบัญชีเพื่อสะสางบัญชีสินทรัพย์ หนี้สิน และทุน 6. รายงานผลการชำระบัญชีทุนฯ ให้ กค. ทราบ เป็นรายไตรมาส 7. สรก. ปิดบัญชีงบดุลหลังการชำระบัญชีแล้วเสร็จ สรุปผลการชำระบัญชีให้กระทรวงเจ้าสังกัด กค. สำนักงบประมาณ ทราบ และส่ง ส.ต.ง. ตรวจสอบรับรอง 8. ขออนุมัติปิดบัญชีเงินฝาก กค. สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  46. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (เงินฝาก) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  47. 5.การรายงานตาม รธน. 2550 ม. 170 เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร กรณีเงินฝาก 2.การพิจารณาอนุมัติ 2.1 แผนประมาณการรับ-จ่าย 2.2 ประมาณการรายจ่ายประจำปี 3.การให้ความตกลงนอกเหนือระเบียบ 1.การพิจารณายกเว้นการนำเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน 4.การติดตามการ ใช้จ่ายเงินตามแผน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  48. ตัวอย่าง การรายงานการรับและการใช้จ่ายเงิน ตามมาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • มาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • กำหนดให้รายงานการรับและการใช้จ่ายเงินโดยหน่วยงานของรัฐที่มีเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน • จัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีทุกสิ้นงบประมาณ • เสนอรายงานฯ ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป • กระบวนการ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  49. รูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงินรูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน หน่วยงาน ...................... ประเภทเงิน ................................... รายงานแสดงฐานะการเงินประจำปีสิ้นสุดวันที่ ..... เดือน ................... พ.ศ. ....... และ พ.ศ. ........... 25552554เพิ่ม/ลดร้อยละ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด XX XX X เงินฝากคลัง XX XX X เงินฝากธนาคารพาณิชย์ XX XX X ลูกหนี้ระยะสั้น XX XX X รายได้ค้างรับ XX XX X เงินลงทุนระยะสั้น XX XX X สินค้าคงเหลือ XX XX X วัสดุคงเหลือ XX XX X สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น XX XX X รวมสินทรัพย์หมุนเวียนXXXXX สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ระยะยาว XX XX X เงินลงทุนระยะยาว XX XX X ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) XX XX X สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (สุทธิ) XX XX X สินทรัพย์ถาวรอื่น (สุทธิ) XX XX X สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น XX XXX รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนXXXXX รวมสินทรัพย์XX XXX สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  50. รูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) 25552554เพิ่ม/ลดร้อยละ หนี้สินหนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ XX XX X ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย XX XX X รายได้รับล่วงหน้า XX XX X เงินรับฝากระยะสั้น XX XX X เงินกู้ระยะสั้น XX XX X หนี้สินหมุนเวียนอื่น XXXXX รวมหนี้สินหมุนเวียนXXXXX หนี้สินไม่หมุนเวียน รายได้รอการรับรู้ XX XX X เงินรับฝากระยะยาว XX XX X เงินกู้ระยะยาว XX XX X หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น XX XXX รวมหนี้สินไม่หมุนเวียนXXXXX รวมหนี้สินXXXXX สินทรัพย์สุทธิ XXXXX ส่วนทุน ทุน XX XX X รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม XX XX X กำไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น XX XX X รวมส่วนทุนXXXXX สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

More Related